350 likes | 477 Views
แนวทางการบริหารจัดการ ระบบภายในศูนย์เผยแพร่ข้อมูลเรื่องสัตว์แบบดิจิตอล ( Digital Zoo). โดย บริษัท เอ็กซ์ทรีม พลัส จำกัด. การทำงานของระบบ. Animation เป็นภาพสัตว์เดินไปมา เมื่อมีผู้เดินผ่านด้านหน้าจอภาพ สัตว์ในภาพจะเดินตามผู้ที่เดินผ่านเป็นต้น. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.
E N D
แนวทางการบริหารจัดการระบบภายในศูนย์เผยแพร่ข้อมูลเรื่องสัตว์แบบดิจิตอล (Digital Zoo) โดย บริษัท เอ็กซ์ทรีม พลัส จำกัด
การทำงานของระบบ Animationเป็นภาพสัตว์เดินไปมา เมื่อมีผู้เดินผ่านด้านหน้าจอภาพ สัตว์ในภาพจะเดินตามผู้ที่เดินผ่านเป็นต้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • สร้างภาพลักษณ์และความน่าสนใจให้กับ Digital Zoo เพิ่มมากขึ้น • เป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อมโดยการที่ ผู้เล่นถ่ายภาพตัวเองกับจอภาพ แล้ว Share ในระบบ Social Network ต่างๆอาจทำให้ มีผู้มาเข้ามาใช้บริการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากขึ้น
การทำงานของระบบ Animationเป็นบ่อน้ำและมีภาพปลาว่ายอยู่ เมื่อมีผู้เดินผ่านบริเวณภาพ บ่อน้ำ น้ำจะกระเพื่อม และปลาจะว่ายหนีไปได้ เป็นต้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • สร้างความสนใจเกี่ยวกับข้อมูลของสัตว์ชนิดต่างๆมากขึ้น และอาจทำให้สนใจที่จะได้ชมหรือศึกษา ตัวจริงของสัตว์ชนิดนั้นๆ ต่อไป • เป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อมโดยการที่ผู้เล่นถ่ายภาพตัวเองกับจอภาพ จากนั้น Share ในระบบ Social Network ต่างๆอาจทำให้ มีผู้มาเข้ามาใช้บริการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากขึ้น
การทำงานของระบบ Content เป็นเครื่องเล่นดนตรี จำนวน 4 ชนิด (2 ชนิดต่อจอ) สามารถเล่นโดยการสัมผัสที่หน้าจอ โดยสามารถเล่นได้พร้อมกันเพื่อประสานเสียงเป็นเพลง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เพื่อเป็นจุดดึงดูดความสนใจจากผู้เข้าใช้บริการ Digital Zoo ให้ขึ้นไปใช้บริการใน Zone ชั้น 2 ที่เป็นห้องสมุดสำหรับให้ความรู้เรื่องสัตว์ • เป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อมโดยการที่ผู้เล่นถ่ายภาพตัวเองกับจอภาพ จากนั้น Share ในระบบ Social Network ต่างๆอาจทำให้ มีผู้มาเข้ามาใช้บริการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากขึ้น
การทำงานของระบบ • ระบบตรวจจับการสัมผัส บนขั้นบันไดด้วยแสงอินฟราเรด เมื่อสัมผัสหรือเหยียบ จะเกิดเสียงเปียโน (แต่ละขั้นกำหนดให้เป็นคีย์เสียง ที่ต่างกันจำนวนทั้งหมด 20 คีย์เสียงและสามารถเล่นประสานกับระบบ Music Touch Wall ได้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เพื่อเป็นจุดดึงดูดความสนใจจากผู้เข้าใช้บริการ Digital Zoo ให้ขึ้นไปใช้บริการใน Zone ชั้น 2 ที่เป็นห้องสมุดสำหรับให้ความรู้เรื่องสัตว์ • เป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อมโดยการที่ผู้เล่นถ่ายภาพตัวเองในขณะที่กำลังเดินขึ้นลง Piano Step เพื่อเล่นเสียง Pianoจากนั้น Share ในระบบ Social Network ต่างๆอาจทำให้ มีผู้มาเข้ามาใช้บริการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากขึ้น
การทำงานของระบบ • ระบบแสดงภาพจริง ผสานภาพสามมิติ ให้เห็นบนหน้าจอแสดงภาพ โดยการตรวจจับภาพรหัส (CODE) ที่ติดไว้ที่หมวก เมื่อผู้เล่นสวมหมวกและยืนหน้าจอภาพ โปรแกรมจะสั่งการให้แทนที่ภาพรหัสด้วยภาพหัวสัตว์แบบ 3มิติที่เตรียมไว้ ผู้เล่นจะเห็นภาพตัวเองมีหัวเป็นหัวสัตว์ในจอภาพ ซึ่งหัวสัตว์จะเคลื่อนไหวไปมาตามการเคลื่อนไหวของผู้เล่นได้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ผู้ที่ได้เห็นและสัมผัสกับระบบ 3D Pop Up จะทำให้มีความสนใจเกี่ยวกับข้อมูลของสัตว์ชนิดต่างๆ นำไปสู่การศึกษาข้อมูลที่มากขึ้นของสัตว์ชนิดนั้นๆ • เป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อมโดยการที่ผู้เล่นถ่ายภาพตัวเองกับจอภาพ จากนั้น Share ในระบบ Social Network ต่างๆอาจทำให้ มีผู้มาเข้ามาใช้บริการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากขึ้น
การทำงานของระบบ • โต๊ะแสดงข้อมูลระบบสัมผัส โดยใช้จอภาพ LCDประกอบเข้ากับโต๊ะ และมีอุปกรณ์สำหรับรองรับการสัมผัสหน้าจอ เพื่อค้นหาข้อมูล ตลอดจนเล่นเกมส์ต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ผู้ที่ได้สัมผัสกับระบบ Touch Table จะได้รับความรู้ตลอดจนความสนุกสนานจาก ข้อมูล รวมทั้งเกมส์ต่างๆ • เป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อม โดยผู้เล่นอาจถ่ายภาพตัวเองในขณะกำลังใช้งาน Touch Table Share ในระบบ Social Network ต่างๆ ทำให้มีผู้สนใจและได้รับข้อมูลเกี่ยวกับ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากยิ่งขึ้น อาจส่งผลให้มีผู้เข้ามาใช้บริการ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากยิ่งขึ้น
การทำงานของระบบ • Projector จะฉายภาพบนจอรับภาพ ที่มีระบบการตรวจจับแสงเลเซอร์ที่ผู้เล่นยิงลำแสงมาจากปืนที่จัดเตรียมไว้ เมื่อแสงส่องเข้ามาอยู่ในบริเวณที่กำหนด ระบบจะสั่งการให้ภาพที่ฉาย มีปฏิกิริยาโต้ตอบ ในเบื้องต้นนี้จะเป็นเกมส์ ยิงลูกโป่งให้แตกเพื่อช่วยนกที่ติดอยู่ในลูกโป่งเป็นต้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ผู้ที่ได้เห็นและสัมผัสกับระบบ Interactive Laser Gun จะได้เล่นเกมส์ช่วยเหลือสัตว์ในลักษณะต่างๆ ทำให้มีจิตใจที่อ่อนโยน และรักสัตว์มากขึ้น • ผู้เล่นมีความสนใจเกี่ยวกับข้อมูลของสัตว์ชนิดต่างๆ นำไปสู่การศึกษาข้อมูลของสัตว์ชนิดนั้นๆ ต่อไป • เป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อม ผู้เล่นอาจถ่ายภาพตัวเองในขณะที่เล่นกับจอภาพเพื่อ Share ในระบบ Social Network ต่างๆ ทำให้มีผู้สนใจและได้รับข้อมูลเกี่ยวกับ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากยิ่งขึ้น
การทำงานของระบบ ระบบที่แสดงภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ ภายในห้องแสดงภาพ ในเบื้องต้นจะแสดงเรื่องราวของนักมายากลที่ใช้นักแสดงที่มีชื่อเสียง ( เต๋อ ฉันทวิทย์ พระเอกในภาพยนตร์ กวน มึน โฮ ) แสดงเป็นนักมายากล และเล่นกับภาพสัตว์ที่เป็น Animation Graphic สามารถเสกให้สัตว์ปรากฏออกมา และจับสัตว์ขนาดใหญ่เช่น ช้างหรือยีราฟ ใส่เข้าไปในหมวกขนาดเล็กได้ เป็นต้น โดยผู้ชมจะได้รับชมภาพที่ใกล้เคียงกับการมาปรากฏตัวจริงๆของนักแสดงในทุกๆรอบที่จัดแสดง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ผู้ที่ได้รับชมการแสดง จะได้ตื่นตาตื่นใจกับเทคโนโลยีระดับโลก ที่สามารถแสดงภาพ Hologram ให้ปรากฏต่อหน้า ส่งผลให้เกิดการประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network ทางอ้อม ทำให้มีผู้สนใจและได้รับข้อมูลเกี่ยวกับ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมากยิ่งขึ้น
ลำดับการเข้าใช้บริการภายใน Digital Zoo
ระยะเวลาในการใช้บริการของระบบในแต่ละรอบระยะเวลาในการใช้บริการของระบบในแต่ละรอบ
Human Management พนักงาน 4 คน/วัน ทำงานในช่วงเวลา 12.00 – 22.00 น. ที่ Digital Zoo ประจำจุดต่างๆดังนี้ • จุดที่ 1 เคาท์เตอร์ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลและดูแลการเข้าใช้บริการ Digital Zoo 1 ตำแหน่ง • จุดที่ 2 Zone Interactive Floor และ Music Zone ให้คำแนะนำการใช้บริการและการดูแลความเรียบร้อย ตลอดจนการดูแลการทำงานของระบบและอุปกรณ์ 1 ตำแหน่ง
Human Management จุดที่ 3 Zone ชั้น 2 ให้คำแนะนำการใช้บริการและการดูแลความเรียบร้อย ตลอดจนการดูแลการทำงานของระบบและอุปกรณ์ 3D Pop Up, Touch Table และ Library room 1 ตำแหน่ง • จุดที่ 4 Hologram Room และ Laser Gun • ให้คำแนะนำการใช้บริการและการดูแลความเรียบร้อย ตลอดจนการดูแลการทำงานของระบบและอุปกรณ์ และการจัดคิวการเข้าชมการแสดง Hologram Room1 ตำแหน่ง
Human Management • พนักงานประจำ จำนวน 5 คน (ชาย 1 หญิง 4) ทำงานสลับกันในแต่ละสัปดาห์ • พนักงานทดแทน จำนวน 3 คน (ชาย 1 หญิง 2) ทำงานแทนพนักงานประจำที่ไม่มาทำหน้าที่โดยแทนในวันที่มีจำนวนพนักงานไม่ครบ 4 คน • พนักงานชั่วคราว จำนวน 2 คน (ชาย 1 หญิง 1) ทำงานเฉพาะกิจเมื่อมีความต้องการพิเศษ เช่น การจัดกิจกรรมเสริมตามวาระต่างๆ ทำงานแทนพนักงานอื่นๆ เฉพาะตอนเย็นหรือเสาร์-อาทิตย์
Quality Control • ประเมินการทำงานของพนักงานเป็นรายบุคคล แบ่งการประเมินเป็นรายวัน รายเดือน และไตรมาส โดยทำการประเมินด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
การรายงานผลการประเมินการรายงานผลการประเมิน ทำการรายงานผลการประเมินให้กับ Night Safari ทุก 3 เดือน แบ่งการ ประเมินเป็น 2 ส่วน คือ • ประเมินประสิทธิภาพการทำงานโดยตัวพนักงานเอง เพื่อนร่วมงาน ผู้จัดการ • ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
แผนการจัดกิจกรรม • จัดกิจกรรมเปิดตัว Digital Zoo จำนวน 1 ครั้ง ในช่วงประมาณ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 • จัดกิจกรรมในการส่งเสริมให้ Digital Zoo เป็นที่รู้จัก รองรับกับงาน พืชสวนโลก จำนวน 1 ครั้ง ภายในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2554 • จัดกิจกรรม เพื่อชักชวนให้มีผู้เขามาใช้บริการ Digital Zoo ทุก 3 เดือน รวม 4 ครั้ง ภายใน ปี พ.ศ. 2555 • จัดกิจกรรมในการส่งเสริมให้ Digital Zoo เป็นที่รู้จัก รองรับกับช่วง Hi Season ของจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 ครั้ง ภายในช่วงเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2555 • จัดกิจกรรม เพื่อชักชวนให้มีผู้เขามาใช้บริการ Digital Zoo รวม 4 ครั้ง ภายใน ปี พ.ศ. 2556
แผนการจัดกิจกรรม • จัดทำ FaceBook Fan page ของ Digital Zoo และดูแล Update ข้อมูล Fanpageตลอดระยะเวลา 2 ปี • จัดทำ สื่อ แบนเนอร์ ไวนิลอิงค์เจ็ท ขนาด 1*4 เมตรจำนวน 10 ชิ้น แผ่นพลาสติก PP บอร์ดตัดเป็นรูปลอยตัว ขนาด 1.8 * 1.2 เมตร จำนวน 10 ชิ้น โปสเตอร์ขนาด 60*45 เซนติเมตร จำนวน 50 แผ่นเพื่อประชาสัมพันธ์การเปิดตัว Digital Zoo สำหรับติดตั้งภายใน เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ภายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 • จัดทำ สื่อ แบนเนอร์ ไวนิลอิงค์เจ็ท ขนาด 1*4 เมตรจำนวน 10 ชิ้น โปสเตอร์ขนาด 60*45 เซนติเมตร จำนวน 50 แผ่นเพื่อประชาสัมพันธ์ Digital Zoo สำหรับติดตั้งภายใน เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ภายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 • จัดทำ สื่อ แบนเนอร์ ไวนิลอิงค์เจ็ท ขนาด 1*4 เมตรจำนวน 20 ชิ้น โปสเตอร์ขนาด 60*45 เซนติเมตร จำนวน 200 แผ่น มอบให้ทางประชาสัมพันธ์ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี เพื่อประชาสัมพันธ์การเปิดตัว Digital Zoo ภายในจังหวัดเชียงใหม่ ภายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554
การใช้พลังงานไฟฟ้า • ใช้พลังงานไฟฟ้าประมาณ 200 หน่วย(kW/H) /วัน ซึ่งรวมถึงการใช้ไฟฟ้าสำหรับอุปกรณ์ทั้งหมด ตลอดจนไฟฟ้าแสงสว่างภายใน Digital Zoo สำหรับการเปิดใช้ระบบเป็นเวลา 10 ชั่วโมง ต่อวัน ไม่รวมการใช้ไฟฟ้าสำหรับเครื่องปรับอากาศ