1 / 12

หัวข้อวิชา การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย (หลักสูตร วทร . ยศ.ทร . / หลักสูตร รร.สธ.ทร .)

หัวข้อวิชา การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย (หลักสูตร วทร . ยศ.ทร . / หลักสูตร รร.สธ.ทร .) น.อ.รศ.นเรศ เพ็ชรนิน. จะเขียนบทนิพนธ์เรื่อง อะไร ? เขียนแล้วได้ประโยชน์ อะไร ?. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ความคาดหวังต่อผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร วทร.

seane
Download Presentation

หัวข้อวิชา การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย (หลักสูตร วทร . ยศ.ทร . / หลักสูตร รร.สธ.ทร .)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อวิชา การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย (หลักสูตร วทร.ยศ.ทร. / หลักสูตร รร.สธ.ทร.) น.อ.รศ.นเรศ เพ็ชรนิน

  2. จะเขียนบทนิพนธ์เรื่องอะไร?เขียนแล้วได้ประโยชน์อะไร?จะเขียนบทนิพนธ์เรื่องอะไร?เขียนแล้วได้ประโยชน์อะไร?

  3. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ความคาดหวังต่อผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร วทร. นศ.ทร. : อีก 5-10 ปีข้างหน้า ท่านควรจะเป็นคนที่มีคุณลักษณะใด..? • Strategic Leadership These leaders set and inspire a vision. They focus more on the art of persuasion, negotiation, compromise and influence. Decisions at this level are mostly made by establishing a consensus. • Skills need to be improved: • Know fact & mission • Do decision-making • Inspire others

  4. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ความคาดหวังต่อผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร รร.สธ.ทร. นทน.รร.สธ.ทร. : อีก 5-10 ปีข้างหน้า ท่านจะเป็นคนที่มีคุณลักษณะใด..? • Operational Leadership • Mostly applied by the military’s Field Grade Officers. This is where the leader transforms himself from being the primary “doer” to being the leader that guides, mentors and coaches his junior leaders. • Skills need to be improved: • Know facts and circumstance • Monitor performance • Proposal for decision-making

  5. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร วทร. หลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ เป้าหมายการผลิต: ผู้นำองค์กรที่มีความรู้และทักษะในการกำหนดทิศทางยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ในการบริหารและพัฒนางานขององค์กร จุดมุ่งหมายการศึกษา: เพิ่มพูนความรู้ พัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์และประมวลความรู้ เสริมสร้างทักษะการแก้ไขปัญหาหรือปรับปรุงพัฒนาปัจจัยต่างๆ รวมทั้งพัฒนาทักษะการนำเสนอความรู้/ความคิดทั้งในลักษณะของเอกสารและการนำเสนอด้วยวาจา การเขียนเอกสารประจำภาค: การบูรณาการความรู้(จากการศึกษา) ประสบการณ์(จากการทำงาน) ความคิดริเริ่ม(จากอัจฉริยภาพ) ของ นศ. ในการผลิตผลงานทางวิชาการ/ทำงานวิจัยอันจะเป็นประโยชน์ต่อการทำงานในอนาคต โดยเฉพาะผลงานวิชาการด้านยุทธศาสตร์ ความมั่นคงด้านต่างๆ นโยบายมหภาค กลยุทธ์องค์กร ปัญหาเชิงบริหาร ปัญหาเชิงเทคโนโลยี ปัญหากรณีศึกษา ปัญหาเชิงการพัฒนา อนาคตศึกษา เป็นต้น

  6. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร วทร. หลักสูตรเสนาธิการทหารเรือ เป้าหมายการผลิต: ผู้นำก จุดมุ่งหมายการศึกษา: กวาจา การเขียนเอกสารวิจัย: การบูรณาการความรู้(จากการศึกษา) ประสบการณ์(จากการทำงาน) ความคิดริเริ่ม(จากอัจฉริยภาพ) ของ นทน. ในการผลิตผลงานทางวิชาการ/ทำงานวิจัยอันจะเป็นประโยชน์ต่อการทำงานในอนาคต โดยเฉพาะผลงานวิชาการด้านยุทธการ การวางแผนทางทหาร การประยุกต์ใช้เครื่องมือต่างๆในการบริหารจัดการ ปัญหากรณีศึกษา ปัญหาเชิงการพัฒนา เป็นต้น

  7. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ รูปแบบของเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย ยศ.ทร. • ความมุ่งประสงค์ • ต้องการดึงศักยภาพ ความรู้ ประสบการณ์ อัจฉริยภาพของผู้เรียนออกมา • ฝึกการค้นคว้าหาข้อมูล การพิจารณาข้อเท็จจริง การใช้เครื่องมือที่ดีในการวิเคราะห์/สังเคราะห์ เพื่อผลิตความรู้ใหม่/เสนอปฏิบัติใหม่ๆ • ฝึกทักษะการนำเสนอที่มีเหตุผล มีความเชื่อมโยง น่าเชื่อถือ เข้าใจได้ง่าย • โครงสร้าง/รูปแบบของเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย • เอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัยคือบทนิพนธ์/สาระนิพนธ์ที่ใช้หลักการวิจัย • เน้นการบ่งชี้ปัญหา&ต้นเหตุของปัญหาด้วยข้อมูล&ข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือ และประยุกต์ใช้เครื่องมือต่างๆในการแสวงหาแนวคิดใหม่/ความรู้ใหม่ๆ • ส่งเสริมให้คิดวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อแก้ไขปรับปรุง/พัฒนาสู่อนาคต • ศึกษาวิเคราะห์และเขียนบทนิพนธ์เชิงพรรณนา โดยใช้ข้อมูล/ข้อเท็จจริง • หลีกเลี่ยงการกล่าวอ้างด้วยความคิดของตนเอง(อย่ามโน...)

  8. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ การเตรียมตัวเตรียมใจก่อนเขียนเอกสาร • การเตรียมใจ • คลายความกังวล ขจัดเสียงลือเสียงเล่าอ้างที่เคยได้ยินได้ฟังมา • ประเมินตนเอง ความสนใจ ความรู้ ประสบการณ์ ข้อมูล ศักยภาพที่ตนมีอยู่ • ลดความทนงตนลงบ้าง แต่ให้คงความมั่นใจในสิ่งที่ตนเองมีเป้าหมายไว้ • ลดความคิดที่ใช้เวลาไปกับสิ่งที่ไร้สาระ ปรับใจของตนให้อดทน ขยัน มุ่งมั่น • การเตรียมตัว • เตรียมข้อมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนำมาเขียนเอกสาร • วางแผนการเขียนเอกสารให้สอดคล้องกับเวลาที่มีอยู่จำกัด • เรียนรู้การใช้โปรแกรมสำนักงาน หรือหาคนที่สามารถใช้ให้ทำแทนได้ • ค้นคว้าหาข้อมูลอื่นๆ จากห้องสมุด อินเตอร์เน็ต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ • ฝึกเขียนและพูดนำเสนอให้คนอื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนเองอยากจะบอกได้ • หามิตรคู่ใจเพื่อพึ่งพายามยาก พิจารณาคุณลักษณะ DS ที่เหมาะกับตน

  9. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ กระบวนการ/กำหนดการในการเขียนเอกสาร • กลไกที่เกี่ยวข้องในการเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย • คณะกรรมการพิจารณาเอกสารประจำภาค(DS) • กรรมการจำนวน 6 กลุ่ม มี DS กลุ่มละ 3 คน • กรรมการจะเป็นผู้ให้คำปรึกษาในการเขียนเอกสารและพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้อเรื่องวิจัย วิธีการวิจัย และแนวทางการเขียนเนื้อหาของเอกสาร • กรรมการทั้งสามของแต่ละกลุ่มเป็นผู้ประเมินคะแนนผลงานเอกสาร(150คะแนน) • นักศึกษาผู้ทำวิจัยและเขียนเอกสารประจำภาค • เลือกกลุ่มกรรมการตามความสมัครใจของตนเอง (จำนวน นศ. กลุ่มละ 14-16คน) • หาอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ(ผู้รู้/ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่จะทำการวิจัย) 1 คน • เสนอเอกสารแนวคิดในการวิจัย/โครงเรื่องวิจัยให้กรรมการพิจารณาอนุมัติ • ดำเนินการวิจัยและเขียนเอกสารประจำภาคตามรูปแบบที่ ยศ.ทร. กำหนด • ส่งผลงานเอกสารประจำภาคตามเวลาที่กำหนด(มีผลต่อการสำเร็จการศึกษา)

  10. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ กระบวนการ/กำหนดการในการเขียนเอกสาร • กำหนดการเกี่ยวกับการเขียนเอกสารประจำภาค • ศึกษาเกี่ยวกับการวิจัย/การเขียนเอกสารประจำภาค29-30 ต.ค.59 • ส่งเอกสารแนวคิดในการวิจัย(conceptual paper) 16พ.ย.59 • ส่งเอกสารโครงเรื่องวิจัย(full proposal) 15 ธ.ค.59 • กรรมการพิจารณาโครงเรื่องวิจัย23-25ธ.ค.59 • ส่งเนื้อหาเอกสารประจำภาคบทที่ 1 และ 229 ม.ค.60 • ส่งเนื้อหาเอกสารประจำภาคบทที่ 326 ก.พ.60 • ส่งเนื้อหาเอกสารประจำภาคบทที่ 413 พ.ค.60 • ส่งเนื้อหาเอกสารประจำภาคบทที่ 531 พ.ค.60 • ส่งเอกสารประจำภาคฉบับสมบูรณ์(ไม่เย็บเล่ม) 10 มิ.ย.60 • นำเสนอผลการวิจัยด้วยวาจา 13-15 ก.ค.60 • ส่งเอกสารประจำภาคฉบับสมบูรณ์(เย็บเล่ม) 29 ก.ค.60

  11. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ กระบวนการ/กำหนดการในการเขียนเอกสาร คณะกรรมการพิจารณาเอกสารประจำภาค(DS) • กลุ่มที่ 1 • พล.ร.ต.สุพจน์ ภู่ระหงษ์ ผบ.วทร.ยศ.ทร. • น.อ.รศ.นเรศ เพ็ชรนิน ผอ.กศษ.รร.สธ.ยศ.ทร. • น.อ.ปกรณ์ โปชัยคุปต์ผอ.กศร.ศยร.ยศ.ทร. • กลุ่มที่ 2 • พล.ร.ต.ภุชงค์ บุญคณาสันต์ ผอ.ศยร.ยศ.ทร. • น.อ.ถุงเงิน จงรักชอบ ผอ.กวยศ.ฝวก.ยศ.ทร. • น.อ.สุรศักดิ์ เฉิดผาดผอ.กศย.ศยร.ยศ.ทร. • กลุ่มที่ 3 • พล.ร.ต.ชุตินธร ทัตตานนท์ หน.ฝวก.ยศ.ทร. • น.อ.ณัฐพงค์ ญาโณทัยขจิตต์ รอง หน.ฝวก.ยศ.ทร. • น.อ.วชิรพร วงศ์นครสว่างผอ.กวมศ.ฝวก.ยศ.ทร. • กลุ่มที่ 4 • น.อ.ประชา สว่างแจ้ง รอง ผบ.วทร.ยศ.ทร. • น.อ.จุมพล ศิริรัตน์ ผอ.กววก.ฝวก.ยศ.ทร. • น.อ.อุดมเดช ล้อมอิ่ม อนก.วทร.ยศ.ทร. • กลุ่มที่ 5 • น.อ.ประวิณ จิตตินันทน์ รอง ผบ.รร.สธ.ทร.ยศ.ทร. • น.อ.พีระพล ใบกว้าง ผอ.กวสธ.ฝวก.ยศ.ทร. • น.อ.รัฐศักดิ์ รักชื่น ผอ.กปค.วทร.ยศ.ทร. • กลุ่มที่ 6 • น.อ.สนิท โมธินา รอง ผอ.ศยร.ยศ.ทร. • น.อ.ชาตรี บวรธรรมจักร ผอ.กอวจ.ฝวก.ยศ.ทร. • น.อ.ทรงฤทธิ์ โพธิ์จินดา ผอ.กศษ.วทร.ยศ.ทร.

  12. กองเอกสารวิจัย ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย • กระบวนการดำเนินงานที่สำคัญในการเขียนเอกสาร • การจัดทำเอกสารแนวคิดในการทำวิจัย(Conceptual Paper) เสนอชื่อเรื่องและเหตุผลที่จะวิจัยเรื่องนั้นอย่างง่าย เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ในการวิจัย • การจัดทำเอกสารโครงเรื่องวิจัย(Full Proposal) เสนอชื่อเรื่อง เหตุผล เป้าหมาย วิธีการที่จะวิจัยในเรื่องนั้นอย่างละเอียดขึ้น • การลงมือทำวิจัยและจัดทำรูปเล่มเอกสาร (Report Writing)เขียนเนื้อหาสาระของเรื่องที่วิจัยและผลการวิจัยโดยละเอียด ตามระเบียบวิธีวิจัย • การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา(Oral Presentation) แถลงเนื้อหาและผลการวิจัยของตนด้วยวาจา ตามระยะเวลาที่กำหนด • การเขียนบทความวิจัย(Research Paper) สรุปเนื้อหาของการวิจัย(รายงานการวิจัย)เป็นบทความวิชาการ เพื่อเผยแพร่ต่อไป

More Related