1 / 82

บำเหน็จบำนาญข้าราชการ ภาคกฎหมาย

บำเหน็จบำนาญข้าราชการ ภาคกฎหมาย. สุวิช เทศนา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังเขต 2. http://klang.cgd.go.th/zone2/. กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานบำเหน็จบำนาญ. พระราชบัญญัติบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494. พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539.

Download Presentation

บำเหน็จบำนาญข้าราชการ ภาคกฎหมาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บำเหน็จบำนาญข้าราชการภาคกฎหมาย สุวิช เทศนา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังเขต 2 http://klang.cgd.go.th/zone2/

  2. กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานบำเหน็จบำนาญกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานบำเหน็จบำนาญ พระราชบัญญัติบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและ การจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2527 กฎหมายอื่น ๆ เช่น พรก.เงินเดือนฯ ,ระเบียบ สร.ว่าด้วย การลา, พรบ.บริหารราชการแผ่นดิน, ระเบียบ กค. ว่าด้วยบำเหน็จ/เงินทำขวัญลูกจ้างส่วนราชการฯ

  3. บำเหน็จบำนาญข้าราชการบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ความหมาย • ข้าราชการ • เวลาราชการ • เงินเดือนสุดท้าย (รวมเงินเพิ่ม) • แพทย์ที่ทางราชการรับรอง • ทายาทผู้มีสิทธิ

  4. ผู้มีสิทธิรับ • เป็นข้าราชการตามกฎหมาย • รับเงินเดือนจากงบประมาณแผ่นดิน หมวดเงินเดือนในอัตราสามัญ • เข้าเหตุใดเหตุหนึ่ง ใน 4 เหตุ • ไม่เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้มีสิทธิ • ประเภทของบำเหน็จบำนาญ • บำเหน็จบำนาญปกติ • บำนาญพิเศษ • บำเหน็จตกทอด

  5. สิทธิในการรับบำเหน็จบำนาญสิทธิในการรับบำเหน็จบำนาญ บำเหน็จมีเวลาราชการคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 10 ปีบริบูรณ์ ( 9 ปี 6 เดือน) ทำให้เกิดสิทธิในการรับบำเหน็จ บำนาญมีเวลาราชการคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 25ปีบริบูรณ์ ( 24 ปี 6 เดือน ) ทำให้เกิดสิทธิในการรับบำนาญ

  6. สิทธิในการรับบำเหน็จบำนาญสิทธิในการรับบำเหน็จบำนาญ มีอายุ50ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป เวลาราชการตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 ปี มีสิทธิรับบำเหน็จเหตุสูงอายุ เวลาราชการตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป มีสิทธิ รับบำนาญเหตุสูงอายุ

  7. การนับเวลาราชการทหารของข้าราชการการนับเวลาราชการทหารของข้าราชการ พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ ผู้ซึ่ง ได้ขึ้นทะเบียนทหารกองประจำการ ให้มีสิทธินับเวลาราชการได้ตั้งแต่วันขึ้น ทะเบียนกองประจำการตามกฎหมาย ว่าด้วยการรับราชการทหาร

  8. การนับเวลาราชการเริ่มเมื่อใด ?? • นับแต่วันรับราชการจากหมวดเงินเดือน ซึ่งไม่ใช่ อัตราวิสามัญหรือลูกจ้าง • รับราชการก่อนอายุ 18 ปีให้เริ่มนับแต่วันครบ 18 ปี • ทหารประจำการนับแต่วันขึ้นทะเบียนกองประจำการ • ครูองค์การฯ นับแต่วันยกฐานะ หรือ นับแต่วันปรับวุฒิ(ตาม พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2518)

  9. หลักเกณฑ์การนับเวลาราชการเพื่อเกิดสิทธิ • นับเวลาราชการเป็นปี (นับ 12 เดือน เป็นหนึ่งปี) • เศษของปีถ้าถึงครึ่งปี ให้นับเป็น “หนึ่งปี” • เศษของวันรวมได้ 30 วันให้นับเป็น “หนึ่งเดือน”

  10. การตัดเวลาราชการ • เวลาที่ไม่ได้รับเงินเดือน • ถูกสั่งพักราชการโดยได้รับเงินเดือนไม่เต็มอัตรา • เวลาระหว่างรับเบี้ยหวัด( รับ 1 ใน 4 ) • วันลาทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่มีการประกาศ กฎอัยการศึกและพื้นที่นั้นนับเวลาเป็นทวีคูณ

  11. ตัวอย่างวิธีคิดเวลาราชการตัวอย่างวิธีคิดเวลาราชการ วันเดือนปีที่ออกจาราชการ 50 – 09 – 30 วันเดือนปีที่เริ่มรับราชการ14 – 10 – 18 เวลาราชการ35 – 11 – 12 บวก เวลาทวีคูณ 5 – 28 รวมเวลาราชการ 36 – 5 – 10 ตัด วันลา 1 – 28 รวมเวลาราชการทั้งสิ้น 36 - 3 – 12

  12. การนับเวลาราชการ • การนับเวลาเพื่อเกิดสิทธิ • การนับเวลาเพื่อคำนวณเงิน • สำหรับผู้ที่ไม่เป็นสมาชิก กบข. • สำหรับผู้ที่เป็นสมาชิก กบข.

  13. การนับเวลาราชการทั้ง 2แบบ เวลาราชการ 23 ปี 6 เดือน 29 วัน พ.ร.บ. 2494 = 24 ปี พ.ร.บ. กองทุนฯ นับให้ 23 + 6 + 29 12 360 = 23 + 0.5 + 0.08 = 23.58 ปี

  14. การคำนวณบำเหน็จ เงินเดือนเดือนสุดท้าย 24,440 บาท พ.ร.บ. 2494 24,440 x 24 = 586,560 บาท พ.ร.บ. กองทุนฯ 24,440 x 23.58 = 576,295.20 บาท

  15. ตัวอย่างการนับเวลาราชการเพื่อคำนวณเงินตัวอย่างการนับเวลาราชการเพื่อคำนวณเงิน เช่น เวลาราชการ 23 ปี 5 เดือน 29 วัน พ.ร.บ. 2494 = 23 ปี พ.ร.บ. กองทุนฯ นับให้ 23 + 5 + 29 12 360 23 + 0.42 + 0.08 = 23.50 ปี

  16. ตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จ เงินเดือนเดือนสุดท้าย 24,440 บาท คำนวณตาม พ.ร.บ. 2494 24,440 x 23 = 562,120 บาท คำนวณตาม พ.ร.บ. กองทุนฯ 24,440 x 23.5 = 574,340 บาท

  17. การนับเวลาราชการต่อเนื่องการนับเวลาราชการต่อเนื่อง บรรจุ ไม่มีสิทธิรับเงิน ลาออก รับบำเหน็จ รับบำนาญ กลับเข้ารับราชการ ก่อน 27 มีนาคม 2540 * มาตรา 30 พรบ. 2494 *

  18. การนับเวลาราชการต่อเนื่องการนับเวลาราชการต่อเนื่อง บรรจุ ไม่มีสิทธิรับเงิน ลาออก รับบำเหน็จ รับบำนาญ กลับเข้ารับราชการ หลัง 26 มีนาคม 2540 * มาตรา 38 พรบ.กบข.

  19. การเสียสิทธิรับบำนาญ • การเสียสิทธิรับบำนาญในกรณี • 1. กระทำความผิดถึงต้องโทษจำคุก • 2. เป็นบุคคลล้มละลายทุจริต • ตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย • ยกเลิกแล้ว • ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2551

  20. บำเหน็จตกทอด ข้าราชการประจำตาย • เหตุปกติ เป็นโรค หรือเจ็บป่วย • เหตุผิดธรรมชาติ อุบัติเหตุ กระทำ หรือถูกกระทำถึงแก่ความตายซึ่งไม่ได้เกิดจากการ ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง การคำนวณ เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ ผู้รับบำนาญตาย จ่ายให้ 30 เท่าของบำนาญ การคำนวณ บำนาญ x 30

  21. บิดาและมารดา 1 ส่วน คู่สมรส 1 ส่วน บุตร 2 ส่วน (บุตร 3 คนขึ้นไปรับ 3 ส่วน) การแบ่งส่วนบำเหน็จตกทอด • บิดามารดาจดทะเบียนสมรส • บิดาจดทะเบียนรับรองบุตร • บุตรบุญธรรม • บุตรตามคำพิพากษา บุตร ในกรณีไม่มีทายาทให้จ่ายแก่บุคคลซึ่งผู้ตายแสดงเจตนาไว้ ต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด

  22. ทายาทเสียสิทธิรับบำเหน็จตกทอดทายาทเสียสิทธิรับบำเหน็จตกทอด • ข้าราชการประจำตาย • ก่อนตายมีกรณีหรือต้องหาว่ากระทำผิด • วินัยอย่างร้ายแรง • กระทรวงเจ้าสังกัดพิจารณาวินิจฉัย • ผู้รับบำนาญตาย • กระทำความผิดอาญา • ถูกฟ้องว่าเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต • ถึงแก่ความตาย • ก่อนมีคดี • ก่อนคดีถึงที่สุด

  23. ให้เจ้ากระทรวงที่ผู้นั้นเคยสังกัดอยู่พิจารณาวินิจฉัยว่า ผู้ตาย • กระทำความผิดจริง • กฎหมายกำหนดโทษ • จำคุกอย่างสูงไว้ • เกินกว่าหนึ่งปี

  24. บำนาญพิเศษ พฤติการณ์ • ได้รับอันตราย / ป่วยเจ็บจนพิการถึงทุพพลภาพ • ไม่สามารถรับราชการต่อไปได้ • ถึงแก่ความตาย สาเหตุ • ปฏิบัติราชการในหน้าที่ • ถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทำการตามหน้าที่

  25. ความหมาย ได้รับอันตรายหรือได้รับการป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ ถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทำการตามหน้าที่ต้องไปปฏิบัติราชการเป็นครั้งคราวนอกที่ตั้งสำนักงานประจำ ต้องไปปฏิบัติราชการเป็นครั้งคราวนอกที่ตั้งสำนักงานประจำ ต้องไปปฏิบัติราชการในท้องที่กันดารที่จะต้องเสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บ ซึ่งท้องที่นั้นได้กำหนดไว้โดยพระราชกฤษฎีกา

  26. เงื่อนไข การคำนวณบำนาญพิเศษ • ไม่ใช่ความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง • ไม่ใช่ความผิดของตนเอง • กรณีทุพพลภาพ • เจ้ากระทรวงกำหนด • กรณีตาย • เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ สิทธิที่ได้รับ • รับราชการต่อไป • บำนาญพิเศษและบำนาญปกติ

  27. เกณฑ์การจ่ายบำนาญพิเศษเกณฑ์การจ่ายบำนาญพิเศษ ทำหน้าที่ตามปกติ • พิการทุพพลภาพ :ตั้งแต่ 5/50 – 20/50 ส่วน ของเงินเดือนสุดท้าย • ตาย :1/2 ของเงินเดือนสุดท้าย ต้องไปราชการหรือปฏิบัติราชการ โดยอากาศยาน/เรือดำน้ำ/กวาดทุ่นระเบิด/ขุด/ทำลาย /ทำ/ประกอบวัตถุระเบิด หรือไอพิษ • พิการทุพพลภาพ:1/2 ของเงินเดือนสุดท้าย • ตาย:40/50 ส่วนของเงินเดือนสุดท้าย

  28. เกณฑ์การจ่ายบำนาญพิเศษ (ต่อ) ทำหน้าที่ตามที่ กระทรวงกลาโหมกำหนด • พิการทุพพลภาพ :30/50 ถึง 35/50 ส่วนของเงินเดือนสุดท้าย • ตาย :40/50 ส่วน ของเงินเดือนสุดท้าย

  29. บำนาญพิเศษกรณีข้าราชการตายบำนาญพิเศษกรณีข้าราชการตาย • ตายเพราะปฏิบัติงานในลักษณะตรากตรำ เร่งรัด หรือเคร่งเครียด เกินกว่าปกติธรรมดา • รายงานการปฏิบัติหน้าที่ราชการในระยะก่อนตายเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสัปดาห์ จ่าย 5/50 ส่วนถึง 20/50 ส่วน กรณีตายจ่ายกึ่งหนึ่งของเงินเดือนเดือนสุดท้าย

  30. การแบ่งจ่ายบำนาญพิเศษการแบ่งจ่ายบำนาญพิเศษ บิดาและมารดา คู่สมรส 1 ส่วน ได้รับจนตลอดชีวิต เว้น สมรสใหม่ 1 ส่วน ได้รับจนตลอดชีวิต บุตร 2 ส่วน (ถ้ามี 3 คนขึ้นไปรับ 3 ส่วน) รับถึง 20 ปี หรือกำลังศึกษา รับถึง 25 ปี • ในกรณีไม่มีทายาท ให้จ่าย • ผู้อุปการะ • ผู้อยู่ในอุปการะ

  31. บำนาญพิเศษ(พ.ร.บ.สงเคราะห์) • ได้รับอันตราย / ป่วยเจ็บ จนพิการถึงทุพพลภาพ • สามารถรับราชการอื่นที่ เหมาะสมได้ พฤติการณ์

  32. บำเหน็จลูกจ้าง • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบำเหน็จลูกจ้าง พ.ศ.2519 • ลูกจ้างประจำ ไม่รวมถึง 1. ลูกจ้างประจำที่มีสัญญาจ้าง 2. ลูกจ้างที่จ้างปฏิบัติงานของส่วนราชการ ในต่างประเทศ • ลูกจ้างชั่วคราว

  33. ลาออก ปลดออก มีเวลาทำงาน 5 ปีบริบูรณ์ (ไม่รวมทวีคูณ) เกษียณอายุ ให้ออก ตาย มีเวลาทำงาน 1 ปีบริบูรณ์ (ไม่รวมทวีคูณ) บำเหน็จลูกจ้าง มี 2 ประเภท คือ1. บำเหน็จปกติ จ่ายให้ลูกจ้างประจำ

  34. บำเหน็จปกติ (ลูกจ้าง) • ให้ออก มีเวลาทำงาน 1 ปีบริบูรณ์(ไม่รวมทวีคูณ) ป่วยเจ็บ (ใบรับรองแพทย์) หย่อนความสามารถ มีเหตุอันควรสงสัยอย่างยิ่งว่า กระทำความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (มีมลทินมัวหมอง) ขาดคุณสมบัติ เลิก หรือยุบตำแหน่ง

  35. ให้ออก (ต่อ) • รับโทษจำคุกโดยคำสั่งศาล หรือต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกในความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ ซึ่งยังไม่ถึงกับจะต้อง ถูกลงโทษปลดออกหรือไล่ออก ไปรับราชการทหาร

  36. การนับเวลาราชการทหารของลูกจ้างประจำ • ลูกจ้างประจำที่ไปรับราชการทหารโดยมิได้รับบำเหน็จ • ออกจากกองประจำการ • กลับเข้าทำงานเป็นลูกจ้างประจำในสังกัดเดิม • ภายในกำหนด 180 วัน • ให้นับเวลาทำงานเพื่อคำนวณบำเหน็จปกติได้

  37. ลูกจ้างประจำตาย ตายในระหว่างรับราชการจ่ายให้แก่ทายาทตาม ปพพ. ว่าด้วยมรดกโดยอนุโลม ตายหลังจากวันพ้นจากราชการ จ่ายให้แก่ ทายาทตาม ปพพ. ว่าด้วยมรดก

  38. การนับเวลาทำงาน • เวลาทำงานโดยได้รับค่าจ้าง • เวลาทวีคูณ • กระทรวงกลาโหมกำหนด • ประกาศกฎอัยการศึก การตัดเวลาทำงาน • เวลาที่ไม่ได้รับค่าจ้าง • วันลาในระหว่างประกาศกฎอัยการศึก วิธีคำนวณ • ค่าจ้างเดือนสุดท้าย X จำนวนเดือน • 12(รายเดือนหาร 50 ) ถ้ามีเศษของบาทให้ปัดทิ้ง ทำงาน 25 ปี เลือกรับบำเหน็จรายเดือนได้

  39. บำเหน็จพิเศษ

  40. 2.บำเหน็จพิเศษ ตัวอย่าง เหตุทุพลภาพ กรณีปกติ • ลูกจ้างประจำ 10,020 x 24 = 240,480 • ลูกจ้างชั่วคราว 240,480 x 3= 180,360

  41. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้างประจำกองทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้างประจำ สิทธิประโยชน์ของสมาชิก กสจ. ส่วนแรก บำเหน็จลูกจ้างตามระเบียบกระทรวงการคลัง • ส่วนที่สอง • เงินกองทุนจาก กสจ. • เงินสะสม 3% หักจากค่าจ้าง • เงินสมทบ 3 % รัฐสมทบ • เงินผลประโยชน์

  42. เงินทำขวัญ • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง พ.ศ.2516 • ผู้มีสิทธิได้รับ • ข้าราชการ • ลูกจ้างประจำ • ลูกจ้างชั่วคราว • จ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว

  43. พฤติการณ์ • ได้รับอันตราย/ป่วยเจ็บ/พิการ/สูญเสียอวัยวะ • แต่รับราชการต่อไปได้ สาเหตุ ปฏิบัติราชการหรือถูกประทุษร้ายในหน้าที่ เงื่อนไข ไม่ได้เกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือความผิดของตนเอง เงินทำขวัญ จ่ายตามอัตราที่กำหนดในระเบียบ

  44. อัตราการจ่ายเงินทำขวัญอัตราการจ่ายเงินทำขวัญ • แขนขาด 1 ข้าง 24 เท่าครึ่ง • ขาขาด 1 ข้าง 22 เท่าครึ่ง • มือขาด 1 ข้าง 18 เท่าครึ่ง • เท้าขาด 1 ข้าง 15 เท่า • ตาบอด 1 ข้าง 11 เท่าครึ่ง • หูหนวก 2 ข้าง 9 เท่า

  45. อัตราการจ่ายเงินทำขวัญอัตราการจ่ายเงินทำขวัญ • นิ้วหัวแม่มือขาด 1 นิ้ว 4 เท่าครึ่ง • นิ้วชี้ขาด 1 นิ้ว 3 เท่าครึ่ง • นิ้วกลางขาด 1 นิ้ว 3 เท่า • นิ้วนางขาด 1 นิ้ว 2 เท่าครึ่ง • นิ้วก้อยขาด 1 นิ้ว 1 เท่า • นิ้วหัวแม่เท้าขาด 1 นิ้ว 3 เท่า • นิ้วเท้าอื่นขาด 1 นิ้ว 1 เท่า

  46. อัตราการจ่ายเงินทำขวัญอัตราการจ่ายเงินทำขวัญ • สูญเสียอวัยวะสืบพันธุ์หรือความสามารถสืบพันธุ์ได้ 25 เท่า

  47. อัตราการจ่ายเงินทำขวัญ การจ่ายเงินทำขวัญ สูญเสียอวัยวะในหลายส่วนของร่างกาย ไม่เกิน 30 เท่า

  48. บำเหน็จบำนาญข้าราชการ ด้านการปฏิบัติ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการขอรับและ การจ่ายบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2527 การยื่นเรื่องราวขอรับบำเหน็จบำนาญปกติ  ใช้แบบคำขอ (แบบ 5300)  ยื่นต่อส่วนราชการที่รับราชการครั้งสุดท้าย  กรณีเกษียณอายุ ยื่นล่วงหน้า 8 เดือน  เจ้าหน้าที่รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้อง

  49. หลักฐานที่เกี่ยวข้อง  สมุดประวัติ / แฟ้ม ก.พ. 7  สำเนาคำสั่ง / ประกาศเกษียณอายุ  ใบแสดงความเห็นของแพทย์  หลักฐานการรับรองเวลาราชการทหารของ กรมการเงินกลาโหม  หลักฐานการมีสิทธิได้นับเวลาทวีคูณ (กอ.รมน.)  ใบรับรองเวลาทวีคูณ (กฎอัยการศึก)

  50. การส่งเรื่องราวขอรับบำเหน็จบำนาญปกติการส่งเรื่องราวขอรับบำเหน็จบำนาญปกติ ส่วนราชการสังกัดสุดท้าย ส่วนกลาง ส่งไปยัง สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ ส่วนภูมิภาค ส่งไปยัง สำนักงานคลังเขต 1 - 9

More Related