440 likes | 535 Views
Life Cycle for Hospital Registration. ศูนย์บริหารงานทะเบียน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. วงจรของหน่วยบริการ Life cycle for Hospital Registration. เข้าร่วม. ออกจากโครงการ. ให้บริการ. 1. ผลการขึ้นทะเบียนปีงบ 2554. 2. การเข้าเป็นหน่วยบริการ. 3. บทบาทหน้าที่ของหน่วยบริการ.
E N D
Life Cycle for Hospital Registration ศูนย์บริหารงานทะเบียน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
วงจรของหน่วยบริการLife cycle for Hospital Registration เข้าร่วม ออกจากโครงการ ให้บริการ
1. ผลการขึ้นทะเบียนปีงบ 2554 2. การเข้าเป็นหน่วยบริการ 3. บทบาทหน้าที่ของหน่วยบริการ 4. การออกจากการเป็นหน่วยบริการ 5.Time Frame ปีงบประมาณ 2555 หัวข้อการบรรยาย
ผลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปีงบประมาณ 2554 จำนวนหน่วยบริการแยกตามประเภท ณ 1 พฤษภาคม 2554
ผลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปีงบประมาณ 2554 ร้อยละของหน่วยบริการแยกตามสังกัด ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2554
ผลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปีงบประมาณ 2554 ผลการบันทึกข้อมูลประเมินหน่วยบริการ ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2554
ผลการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปีงบประมาณ 2554 สถานการณ์สัดส่วนประชากร ต่อ จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิ ทั้งประเทศ เฉลี่ย 6,284 ราย / แห่ง ≤ 10,000 ราย = 10,749 แห่ง > 10,000 ≤ 30,000ราย = 504 แห่ง > 30,000 ≤ 50,000 ราย = 29 แห่ง > 50,000 ราย = 12 แห่ง
การเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าการเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการการเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการ ความตามมาตรา ๔๔ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ “ให้สำนักงาน จัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ แล้วประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ เพื่อดำเนินการลงทะเบียนเลือกเป็นหน่วยบริการประจำของตนตามมาตรา ๖”
การเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการการเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการ อ้างอิงตามข้อบังคับ สปสช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายฯ พ.ศ. 2547 ได้กำหนดประเภทของหน่วยบริการเป็น 4 ประเภท 1. หน่วยบริการประจำ 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ 3. หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ 4. หน่วยบริการร่วมให้บริการ ตามข้อบังคับดังกล่าว มีผลให้ สถานพยาบาลภาครัฐทุกแห่งที่เกิดขึ้นก่อน 1 ต.ค. 2547 มีสถานะเป็นหน่วยบริการ
การเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการการเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการ สถานพยาบาลภาครัฐทุกแห่งที่เกิดขึ้นก่อน 1 ต.ค. 2547 มีสถานะเป็นหน่วยบริการ ตามข้อบังคับนั้น ซึ่งหากไม่ได้รับการประเมินและจัดเครือข่าย ทางศูนย์ฯทะเบียนจะกำหนดประเภทเป็น หน่วยบริการที่ไม่ได้จัดเครือข่าย สถานพยาบาลภาครัฐที่เกิดขึ้นภายหลัง 1 ต.ค. 2547 หากต้องการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ ต้องแสดงความจำนงเข้าร่วมโครงการ
จัดตั้ง ขอรหัส ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ สมัคร ตรวจประเมิน การเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการ 1 2 3 4
การเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการการเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการ 1. ต้องเป็นสถานพยาบาล ได้รับรหัสจาก สนย. แล้ว 2. ต้องแจ้งใบสมัคร / แบบแสดงความจำนง ขอเข้าร่วม 3. ต้องผ่านการตรวจประเมิน มีผลการตรวจประเมินเป็นผ่าน/ผ่านมีเงื่อนไข 4. ถ้าขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำ ต้องเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิด้วย และต้องระบุว่าหน่วยบริการที่รับการส่งต่อคือที่ใด (ถ้าไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อด้วยตนเอง) 5. ถ้าขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ต้องระบุว่าอยู่ในเครือข่ายหน่วยบริการประจำใด
เงื่อนไขในการขอรหัสหน่วยงานบริการสุขภาพเงื่อนไขในการขอรหัสหน่วยงานบริการสุขภาพ มีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นอย่างชัดเจน มีโครงสร้าง อาคารสถานที่เป็นของตนเอง ได้รับการกำหนดรหัสหน่วยงานสุขภาพ ที่เป็นรหัสหลัก (ไม่ใช่รหัสที่ขึ้นด้วยเลข 9) มีบุคลากรปฏิบัติงานประจำในหน่วยงาน มีระบบการบริหารจัดการด้วยตนเอง
ความเข้าใจเกี่ยวกับรหัสขึ้นด้วยเลข “9” • เป็นรหัสที่ สนย. กำหนดให้แก่โรงพยาบาลที่ต้องการแยกส่งข้อมูล OP/PP • ไม่นับว่าเป็นรหัสหน่วยงานบริการสุขภาพที่นำมาใช้งานด้านอื่น • รหัสขึ้นด้วยเลข “9” จะใช้สำหรับการส่งข้อมูล 18 แฟ้ม เท่านั้น • สปสช.จะไม่รับหน่วยงานที่มีรหัสขึ้นด้วยเลข 9 ขึ้นทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพฯ, การจัดเครือข่ายหน่วยบริการ และการกำหนดรหัสผู้ใช้งาน(Username/Password) ในโปรแกรมต่าง ๆ
หน่วยบริการ สาขาจังหวัด บทบาท/หน้าที่ ในการรับสมัครหน่วยบริการ • ยื่นแบบแสดงความจำนงขอเข้าร่วม • พร้อมเอกสารประกอบ • รับเอกสารแสดงความจำนง • นำเสนอ อปสจ. เพื่อพิจารณารับสมัครเข้าเป็นหน่วยบริการ • ความหนาแน่นของผู้รับบริการ • ความเพียงพอของหน่วยบริการ • ความสะดวก//ระยะทางในการเข้าถึงหน่วยบริการ • อปสจ. พิจารณากำหนดพื้นที่รับผิดชอบ • แจ้ง สปสช.เขต เพื่อพิจารณาในการตรวจประเมินหน่วยบริการ
การตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนหน่วยบริการการตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ตามข้อบังคับ สปสช. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ พ.ศ. 2547 กำหนดไว้ว่า “ให้สำนักงานหรือสำนักงานสาขาตรวจประเมินหน่วยบริการ ตามเกณฑ์การขึ้นทะเบียนอย่างน้อยปีงบประมาณละ 1 ครั้ง”
ความสำคัญของการตรวจประเมินความสำคัญของการตรวจประเมิน 1. เพื่อเป็นการคัดกรองคุณภาพของหน่วยบริการ 2. เพื่อเป็นเครื่องยืนยันต่อประชาชนว่าจะได้รับบริการที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน 3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการแบ่งระดับหน่วยบริการตามศักยภาพ 4. เพื่อกระตุ้นให้หน่วยบริการธำรงรักษาคุณภาพ 5. เพื่อเป็นข้อมูลในการให้หน่วยบริการออกจากระบบ
การตรวจประเมินหน่วยบริการการตรวจประเมินหน่วยบริการ 1. หากขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำ จะต้องประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิด้วยเสมอ 2. หน่วยบริการปฐมภูมิสามารถจัดกลุ่มเพื่อขอรับการประเมินเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิแบบกลุ่มได้ 3. การบันทึกข้อมูลหน่วยบริการปฐมภูมิแบบกลุ่มให้บันทึกเฉพาะหน่วยบริการที่เป็นแม่ข่ายเท่านั้น 4. กรณีคะแนนประเมินเป็น 0 หรือ 1 ขอให้ระบุรายละเอียดเพื่อการปรับปรุงในช่องหมายเหตุ
หน่วยบริการ สาขาจังหวัด สาขาเขต บทบาท/หน้าที่ ในการตรวจประเมินหน่วยบริการ • แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมิน • อบรม/ชี้แจงทีมตรวจประเมิน • วางแผน/กำหนดวันตรวจประเมิน • แจ้งนัดหมายหน่วยบริการที่รับการตรวจประเมิน • สนับสนุน/อำนวยความสะดวกและตรวจประเมินหรือร่วมตรวจประเมินหน่วยบริการ ตามแนวทางของสาขาเขต • รับการตรวจประเมิน • รับฟังผลการตรวจประเมิน • ปรับปรุง/พัฒนาหน่วยบริการ ตามผลการตรวจประเมิน
การประกาศขึ้นทะเบียนหน่วยบริการการประกาศขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ 1. หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การตรวจประเมิน จะได้รับประกาศขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการ ประเภทต่าง ๆ 2. การแจ้งรายชื่อหน่วยบริการที่ขอให้ประกาศขึ้นทะเบียน ขอให้แจ้งมายัง ศูนย์ฯทะเบียน ไม่ต่ำกว่า 30 วัน 3. ปีงบประมาณ 2555 ขอให้แจ้งหน่วยบริการเข้าใหม่ หรือหน่วยบริการที่เปลี่ยนประเภท ภายใน 31 สิงหาคม 2554
การขอขึ้นทะเบียนระหว่างปีการขอขึ้นทะเบียนระหว่างปี สปสช. ไม่สนับสนุนการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการระหว่างปี เนื่องจากจะมีผลกระทบหลายด้าน แต่สามารถขอขึ้นทะเบียนระหว่างปีได้หากมีความจำเป็น ให้แจ้งรายชื่อหน่วยบริการที่ขอขึ้นทะเบียนมายัง ศูนย์ฯทะเบียน ไม่ต่ำกว่า 30 วัน และ สปสช. จะประกาศขึ้นทะเบียนและนำเข้าระบบให้ในวันที่ 1 ของเดือนถัดจากได้รับแจ้งขอขึ้นทะเบียน
บทบาทหน้าที่ของหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าบทบาทหน้าที่ของหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
หน่วยบริการ ที่รับขึ้นทะเบียนแล้ว ทำสัญญา/ข้อตกลง ให้บริการสาธารณสุข ให้บริการตาม สิทธิประโยชน์ จัดทำเครือข่าย หน่วยบริการ. ลงทะเบียนประชาชน ขั้นตอนภายหลังการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ
หน้าที่ของหน่วยบริการหน้าที่ของหน่วยบริการ สถานบริการที่ผ่านการประเมินเป็นหน่วยบริการในระบบแล้ว จะต้องแสดงบทบาทหน้าที่ในการเป็นหน่วยบริการ ตามมาตรา 45 แห่ง พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 อาทิ - การให้บริการการแพทย์และสาธารณสุข อย่างมีมาตรฐานและด้วยความเสมอภาค - ให้ข้อมูลการให้บริการ เพื่อผลการรักษา และการตัดสินใจของผู้ป่วย - จัดระบบข้อมูลบริการสุขภาพ เพื่อสะดวกต่อการตรวจสอบคุณภาพและบริการ รวมทั้งการขอรับค่าใช้จ่ายในการบริการ ฯลฯ
Hospital Profile อ้างอิงตาม มาตรา 44 และมาตรา 45 หน่วยบริการมีหน้าที่ในการให้ข้อมูลของตนเอง เพื่อประชาสัมพันธ์ และเพื่อให้ประชาชนตัดสินใจในการเลือกรับบริการ ดังนั้น หน่วยบริการจะต้องเข้ามาบันทึกและปรับปรุงข้อมูลพื้นฐานของหน่วยบริการ (Hospital Profile) ในระบบ D Center เป็นประจำทุกปี ข้อมูลทั่วไป/ข้อมูลบุคลากร เปิดให้บันทึกถึง 30 มิถุนายน ข้อมูลการให้บริการ เปิดให้บันทึกถึง 31 ธันวาคม
Hospital Profile หน้าจอสำหรับเข้าบันทึกข้อมูล ที่โปรแกรม D Center หน้าจอสำหรับการเผยแพร่ข้อมูล ที่เวปไซต์ NHSO
การจัดเครือข่ายหน่วยบริการการจัดเครือข่ายหน่วยบริการ - เป็นขั้นตอนที่สำคัญต่อการลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการของผู้มีสิทธิ และมีผลต่อการจัดสรรงบกองทุน, การเข้ารับบริการ และข้อมูลที่แสดงในโปรแกรมตรวจสอบสิทธิ - จัดทำบัญชีเครือข่ายส่งให้ สปสช. ก่อนขึ้นปีงบประมาณใหม่ หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเครือข่ายหน่วยบริการ - กรณีไม่มีการเปลี่ยนแปลงเครือข่ายหน่วยบริการ ให้แจ้ง สปสช. เพื่อยืนยันการใช้ข้อมูลเดิม
Mastercup Online เมนูการใช้งาน ของสาขาจังหวัด
Mastercup Online เมนูการใช้งาน ของสาขาเขต
ประเภทหน่วยบริการกับการ Payment
การออกจากการเป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าการออกจากการเป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
2 3 1 ออกเนื่องจาก ตรวจประเมิน ไม่ผ่านเกณฑ์ ออกเนื่องจาก มีปัญหาด้านคุณภาพบริการ ออกเนื่องจากหน่วยบริการประสงค์ขอลาออก การออกจากการเป็นหน่วยบริการ
การออกจากการเป็นหน่วยบริการการออกจากการเป็นหน่วยบริการ 1. ออกเนื่องจากหน่วยบริการประสงค์ขอลาออก • หน่วยบริการยื่นก่อนออก 90 วัน • แจ้งศูนย์บริหารงานทะเบียนก่อน 30 วัน • จังหวัดต้องจัดเตรียมหน่วยบริการรองรับการโอนย้ายประชาชนจากที่ลงทะเบียนไว้ที่หน่วยบริการที่ลาออก • สปสช.จะดำเนินการในเรื่องของเงินที่ต้องเรียกคืน
การออกจากการเป็นหน่วยบริการการออกจากการเป็นหน่วยบริการ 2. ออกเนื่องจากการตรวจประเมินไม่ผ่าน • เขตแจ้งเรื่องพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณาให้ออก • กระบวนการต่าง ๆ ดำเนินการเหมือนกรณี 1 3. ออกเนื่องจากมีปัญหาด้านคุณภาพบริการ • ต้องนำเรื่องเข้าคณะกรรมการควบคุมฯ เมื่อได้มติให้ออกแล้วกระบวนการต่าง ๆ ดำเนินการเหมือนกรณี 1
การออกจากการเป็นหน่วยบริการการออกจากการเป็นหน่วยบริการ : หน่วยบริการภาครัฐไม่สามารถลาออกได้ ยังต้องคงสถานะเป็นหน่วยบริการต่อไป แต่อาจจะกลายเป็นหน่วยบริการที่ไม่มีการจัดเครือข่ายได้ : กรณีหน่วยงานปิดกิจการ / ยุบตัวเอง ให้ดำเนินการแจ้งขอลาออกตามขั้นตอนเดียวกับหน่วยบริการประสงค์ขอลาออกเอง
ส่วนกลาง สาขาจังหวัด สาขาเขต บทบาท/หน้าที่ กรณีมีหน่วยบริการลาออก • รับเรื่องการแสดงความจำนงขอลาออก • จัดเตรียมหน่วยบริการเพื่อรองรับการโอนย้ายประชากร • ปรับปรุงเครือข่ายหน่วยบริการ • แจ้งสาขาเขตเพื่อดำเนินการ • รวบรวมเอกสาร /หลักฐาน และแจ้งส่วนกลางภายใน 30 วันก่อนถึงวันที่หน่วยบริการประสงค์ลาออก • ตรวจสอบข้อมูลการปรับปรุงเครือข่ายหน่วยบริการ • ดำเนินการจัดทำประกาศให้ออกจากการเป็นหน่วยบริการ • ปรับปรุงฐานข้อมูล และประสานกับจังหวัดเรื่องการโอนย้าย • ดำเนินการเรื่องเงินที่ค้างจ่าย/เรียกคืน
กรอบเวลาดำเนินงานการบันทึกข้อมูลในระบบ Data Center
กรอบเวลาดำเนินงานการบันทึกข้อมูลในระบบ Data Center
Thank You ศูนย์บริหารงานทะเบียน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ