3.13k likes | 8.18k Views
การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย. จารุ วรรณ เย็นเสมอ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ. HEALTH. สุขภาพ : ภาวะที่มีความสมบูรณ์ของกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงแต่ปราศจากโรค
E N D
การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย จารุวรรณ เย็นเสมอ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
HEALTH • สุขภาพ: ภาวะที่มีความสมบูรณ์ของกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ • ไม่ใช่เพียงแต่ปราศจากโรค • สุขภาวะ: ภาวะที่เป็นสุขภาวะที่มีความสมบูรณ์ของกาย จิตใจ และสังคม มีลักษณะเป็น พลวัตร คือ ไม่ได้อยู่นิ่ง แต่เปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขปัจจัยชีวิต • การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม สุขภาพ ว่าด้วย เรื่องโรค สุขภาพ ว่าด้วย สุขภาวะ ที่มา: อำพล จินดาวัฒนะ, 2546
HEALTH “ ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคมเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล ” (ม.3 - พรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550)
ทางใจ ทางกาย HEALTH ร่างกายแข็งแรง เข้าถึงบริการ จิตใจดี มีความสุข ทางสังคม ทางปัญญา เสมอภาค เป็นธรรม สันติวิธี มีสติและปัญญา ฉลาด รู้เท่าทัน
ระบบ : System EVN People H HCS กิจกรรมหรือส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน หรือเกี่ยวข้องกัน ซึ่งนำไปสู่เป้าหมายหลักเดียวกัน
ระบบสุขภาพ : Health System กิจกรรมหรือส่วนต่างๆ ที่มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อการส่งเสริม รักษา หรือฟื้นฟูสุขภาพ
บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม สุขภาพ : สุขภาวะ ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุม ป้องกัน จิตวิญญาณ (ปัญญา) รักษาพยาบาล สังคม ฟื้นฟูสภาพ จิต กาย กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ที่มา: อำพล จินดาวัฒนะ, 2546
สุขภาพ VS ทุกขภาพ สุขภาพ & สุขภาวะ ทุกขภาพ & ทุกขภาวะ คน ครอบครัว ชุมชน สังคม สุขภาพดี & มีคุณภาพชีวิต ป่วย & ตาย ด้วยเหตุไม่สมควร เครียดบีบคั้น เห็นแก่ตัว อ่อนแอแตกแยก ล่มสลาย ตัวใครตัวมัน สิ่งแวดล้อม&สภาพแวดล้อมแย่ “อยู่ร้อน - นอนทุกข์” “อยู่เย็น-เป็นสุข”
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ กายภาพ/ชีวภาพ นโยบายสาธารณะ กรรมพันธุ์ เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความเชื่อ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ความมั่นคง จิตวิญญาณ การสื่อสาร/คมนาคม วิถีชีวิต สุขภาพ เทคโนโลยี/องค์ความรู้ บริการส่งเสริม&ป้องกัน& รักษา&ฟื้นฟู การแพทย์&สาธารณสุข กระแสหลัก ระบบบริการ สาธารณสุข การแพทย์แผนไทย&พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ พลวัตร ที่มา: อำพล จินดาวัฒนะ, 2546
ระบบบริการสุขภาพ Health Care System องค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ กิจกรรมต่างๆ ที่นำไปสู่การบริการสุขภาพต่างๆ ทั้งในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและ การฟื้นฟูสุขภาพแก่ประชาชนหรือสาธารณะ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบเครือข่าย • บนหลักการ • ประกันคุณภาพ • ประกันราคา • เข้าถึงบริการ • บริการระดับสูง ต้อง • คุ้มค่าการลงทุน • ความเชี่ยวชาญเฉพาะ • เป็นเครือข่ายบริการ 2 ล้านคน Ex. Cent. 1 ล้านคน ตติยภูมิ 2 แสนคน ทุติยภูมิ ระดับ 3 8 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 2 3-5 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 1 ปฐมภูมิ 1 หมื่นคน บริการระดับต้น ประชาชน-ท้องถิ่น ดำเนินการได้ ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง แพทย์ระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ระดับต้น 1: 10,000 GP:SP = 40:60
การจัดเครือข่ายบริการสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพและการประกันคุณภาพบริการ บริการเฉพาะ มาตรฐานบริการ เฉพาะทางพิเศษ บริการตติยภูมิ เฉพาะทาง มาตรฐานบริการเฉพาะทาง ทุติยภูมิ CUP หน่วยบริหารเครือข่าย มาตรฐานสถานพยาบาล (ต่ำสุด 10-30 เตียง) มาตรฐานคุณภาพ มาตรฐานคู่สัญญาปฐมภูมิ PCU PCU โครงสร้าง บุคลากร บริการ การจัดการ PCU
องค์ประกอบหลักของระบบบริการสุขภาพองค์ประกอบหลักของระบบบริการสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข โครงสร้างองค์กร การบริหารจัดการ การเงินการคลังสาธารณสุข แบบแผนการให้บริการสุขภาพ
ทรัพยากรสาธารณสุข -แพทย์ -พยาบาล -เภสัชกร -นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ -เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ฯ บุคลากรด้านสาธารณสุข Man Power โครงสร้างพื้นฐานด้านบริการสาธารณสุข Health Facility -จำนวนเตียง -สถานบริการสาธารณสุข -อาคารสถานที่ต่างๆ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ Health Equipments & Supplies -อุปกรณ์ที่จำเป็น -เครื่องมือทางการแพทย์ -เวชภัณฑ์ ยาฯ
โครงสร้างองค์กร การจัดระบบให้บริการสาธารณสุข 3 รูปแบบ รูปแบบองค์กรเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไป Hierarchical Bureaucracies -ระบบการกำกับ ตรวจสอบและ ประสานงานโดยใกล้ชิด รูปแบบความสัมพันธ์โดยอาศัยกลไกตลาด Market based Interaction - ระบบการให้บริการที่เป็นไป ตามกลไกของตลาด รูปแบบพันธสัญญา Contractual Arrangement -ระบบความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐ เอกชนในการให้บริการด้านสุขภาพพื้นฐาน
การบริหารจัดการ การบริหารจัดการที่ดี : Good Governance ทำให้ระบบบริการสุขภาพบรรลุเป้าประสงค์ -การมีสุขภาพดี -เกิดความเป็นธรรม -เกิดความพึงพอใจ บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการบริหารบริการสุขภาพ -กำหนดนโยบายสาธารณสุขและวิสัยทัศน์ที่ให้ทุกส่วนในระบบ มีความเข้าใจและสร้างเสริมพลังช่วยกันไปในทิศทางเดียวกัน -ควบคุมการปฏิบัติการและออกกฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ -การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการบริหารที่มีคุณภาพ
การเงินการคลังสาธารณสุขการเงินการคลังสาธารณสุข ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพของประชาชน -งบประมาณแผ่นดิน -นายจ้าง -องค์กรอาสาสมัคร -ชุมชนท้องถิ่น -การช่วยเหลือจากต่างประเทศ -ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน - อื่นๆ -เป้าประสงค์ของระบบบริการสุขภาพที่ดี คือ ความเป็นธรรมในการร่วมจ่าย ค่าบริการสุขภาพ ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพ ควรเฉลี่ยไปตามความสามารถของบุคคล -ระบบประกันสุขภาพที่ครอบคลุมประชากรทุกคน โดยการเฉลี่ยจ่ายล่วงหน้า (Prepayment System) ตามสัดส่วนรายได้ ถือเป็นมาตรการสำคัญ “คนดีช่วยคนป่วย คนรวยช่วยคนจน”
แบบแผนการให้บริการสุขภาพแบบแผนการให้บริการสุขภาพ รูปแบบการให้บริการสุขภาพ (Delivery of Health Service) -การให้ความสำคัญกับบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ -รูปแบบการให้บริการในลักษณะสาธารณสุขมูลฐาน -การบริการสุขภาพเพื่อครอบครัว -การบริการผู้ป่วยซ้ำซ้อน -ระบบการส่งต่อ -ระบบการให้บริการเฉพาะกลุ่มประชากร
ประเภทของระบบบริการสุขภาพ Type of Health Care System Roemer 1993 วิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพพื้นฐานของ องค์ประกอบต่างๆ ของระบบ ใน 165 ประเทศได้จัดประเภทของ ระบบบริการสุขภาพทั่วโลกเป็น 4 ประเภท -ระบบบริการสุขภาพแบบเสรีนิยม -ระบบบริการสุขภาพแบบสวัสดิการ -ระบบบริการสุขภาพแบบครอบคลุม -ระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม
ระบบบริการสุขภาพแบบเสรีนิยมระบบบริการสุขภาพแบบเสรีนิยม • - องค์ประกอบต่างๆ ของระบบบริการสุขภาพ • จัดในรูปแบบเอกชนที่แข่งขันภายใต้ตลาดเสรีเป็นส่วนใหญ่ • รัฐมีส่วนเข้าไปแทรกแซงกลไกตลาดน้อย • - ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพส่วนใหญ่มาจากเอกชน • หน่วยบริการส่วนใหญ่เป็นของเอกชน • - เป็นความรับผิดชอบของบุคคลที่จะดูแลตนเอง-เข้าถึงบริการสุขภาพ USA-Philippines
ระบบบริการสุขภาพแบบสวัสดิการระบบบริการสุขภาพแบบสวัสดิการ • รัฐได้เข้าแทรกแซงกลไกตลาดในการจัดบริการสุขภาพหลาย ๆ ทาง • อาทิ ด้านค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล • - บางรัฐได้จัดสร้างและกระจายสถานบริการขนาดเล็กในเขตชนบท • รัฐเป็นผู้รับจัดบริการพื้นฐาน อาทิ การฉีดวัคซีนป้องกันโรค • การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การให้การรักษาพยาบาลที่จำเป็น West Europe (German), Canada, Australia, Japan Latin America, India, Malasia
ระบบบริการสุขภาพแบบครอบคลุมระบบบริการสุขภาพแบบครอบคลุม • รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการสุขภาพมาก เพื่อให้ประชากรทุกคนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุมทัดเทียมกันภายใต้เงื่อนไขระดับเศรษฐกิจ • ของประเทศ • -รัฐให้ความสำคัญต่อการจัดระบบบริการสุขภาพแก่ประชาชน • -ประชาชนสามารถรับบริการสุขภาพโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง • โดยรัฐเป็นผู้จัดสรรภาษีเป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมด • -สถานพยาบาลส่วนใหญ่อยู่ในการควบคุมของรัฐโดยตรง England, Scandinavia, Italy, Greeze, Spain Costarica & Srilanka
ระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยมระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม • รัฐได้เข้าไปจัดการบริการสุขภาพอย่างสิ้นเชิง • ไม่อนุญาตให้มีกลไกตลาดเอกชนใด ๆ • - ใช้วิธีวางแผนจัดการจากส่วนกลาง • - ทรัพยากรสาธารณสุขต่างๆ อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ • - ประชาชนทุกคนจะได้รับบริการจากรัฐ Russia, Cuba
ระบบบริการสุขภาพของไทย (ปัจจุบัน) • ระบบบริการสุขภาพของไทยปัจจุบัน เป็นระบบบริการสุขภาพ • แบบสวัสดิการ • มีโครงสร้างของระบบบริการสาธารณสุขครอบคลุมทุกระดับ • (จังหวัด-หมู่บ้าน) • ให้การบริการสาธารณสุขในลักษณะผสมผสาน • (Integrated Health Service)
ระบบบริการสุขภาพของไทย (ต่อ) • มุ่งเน้นเป้าหมายในการจัดระบบบริการคุณภาพ • ให้ความสำคัญกับประชาชนจะได้รับบริการสุขภาพอย่างเสมอภาค • (Equity) ตามความจำเป็นด้านสุขภาพอนามัยโดยเสียค่าใช้จ่าย • ตามความสามารถที่ช่วยได้ -การบริการของเอกชนจะกระจายไปตามศักยภาพของเศรษฐกิจ ในพื้นที่ต่างๆ
ปัญหาระบบบริการสุขภาพของไทยปัญหาระบบบริการสุขภาพของไทย • มีปัญหาสำคัญ 5 ด้าน ได้แก่ • ปัญหาความไม่เป็นธรรม: • การกระจายทรัพยากร • การเข้าถึงและการใช้บริการ (คนเมืองเข้าถึงได้มาก) • สถานพยาบาล (นอก-ใน เขตเมือง) • การรับภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (คนจนมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงกว่าคนรวย)
ปัญหาระบบบริการสุขภาพของไทย (ต่อ) • ปัญหาประสิทธิภาพของระบบบริการสาธารณสุข: • ประสิทธิภาพของบริการ (รักษามีประสิทธิภาพทำให้สุขภาพดีน้อยกว่าส่งเสริม) • ประสิทธิภาพในการลงทุนด้านเตียง (อัตราครองเตียง <80%) • คุณภาพระบบบริการ(รัฐ-เอกชน ต่างกัน ด้านบริการ ค่าใช้จ่าย) • การเข้าถึงบริการในยามฉุกเฉิน (กรณีอุบัติเหตุ) • ความไม่ครอบคลุมของหลักประกันสุขภาพ
สุขภาพดี 1. สุขภาพเสีย Wellness Illness สร้างนำ 2. ซ่อมนำ Building Repairing สหวิทยาการ&สหสาขา 3. วิทยาการ&สาขาเดี่ยว Multidisciplinary & intersectoral Single disciplinary & sector กระบวนทัศน์ใหม่ระบบบริการสุขภาพ (สร้างนำซ่อม)
บริบททางสังคม 4. บริบททางการแพทย์ Social Model Medical Model สุขภาวะ/ทุกขภาวะ - โรคภัยไข้เจ็บ - ให้ความสำคัญแก่ปัจจัยด้านสังคม-สิ่งแวดล้อม -เน้นมาตรการทางสังคม ฐานชุมชน (รุก) 5. ฐานโรงพยาบาล (รับ) Community-based Hospital-based ประชากร 6. ปัจเจกบุคคล Population Individual
เคลื่อนไหวทางสังคม 7. บริการสาธารณสุข Social Movement Health Service - People Participation -Empowerment -Partnership/Networking ผลักดันนโยบาย 8. มุ่งปรับพฤติกรรม สาธารณะ ส่วนบุคคล Primary-Secondary-Tertiary 9. Primary Prevention Prevention Supporter / Advocater / Partnership 10. Provider
ปรัชญาพื้นฐานในกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพปรัชญาพื้นฐานในกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ • ปรัชญาพื้นฐาน คือ แนวคิดหลักของกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ กำหนดปรัชญาพื้นฐานภายใต้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ 8 ประการ • ความเป็นองค์รวม: มุ่งสร้างระบบบริการที่ดูแลเป็นองค์รวม กาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ • การมีส่วนร่วม: เน้นให้ทุกภาคส่วนในสังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ • นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ: เน้นกำหนดนโยบายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ • ความเสมอภาค: เสมอภาคในระดับของสุขภาพ การเข้าถึง และภาระค่าใช้จ่าย
ปรัชญาพื้นฐานของระบบสุขภาพปรัชญาพื้นฐานของระบบสุขภาพ • ประสิทธิภาพ: เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพสูงสุด • คุณภาพ: มุ่งพัฒนามาตรฐานการบริการ • พัฒนาศักยภาพผู้บริโภค: พัฒนาให้ผู้บริโภคมีความเข้มแข็ง เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ ได้อย่างถูกต้อง • การพึ่งตนเอง: พัฒนาการดูแลสุขภาพของตนเองของประชาชน
การแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์สุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ด้านส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ปีงบประมาณ พ.ศ. 25575 Flagship Project
โครงสร้างแผนงานเขตสุขภาพ ปี 57 บริการ บริหาร สส ปก การเงินการคลัง การบริหารกำลังคน-จริยธรรม การบริหารระบบข้อมูล การบริหารเวชภัณฑ์ พัฒนาประสิทธิภาพการซื้อ-จ้าง พัฒนาบริการ 10 สาขา พัฒนาระบบส่งต่อ คุณภาพบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติเหตุ/ยาเสพติด โครงการพระราชดำริ สตรีและเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยเรียน 6-14 ปี วัยรุ่น 15-21 ปี วัยทำงาน 15-59 ปี ผู้สูงอายุและผู้พิการ อาหารปลอดภัย การควบคุมโรคติดต่อ สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
อำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว วันทำงานสุขภาพดี พ่อ แม่ สุขภาพดี เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย เด็กไทยสูงใหญ่ สมองดีมีทักษะชีวิต ผู้สูงอายุ 80 ปียังแจ๋ว -รพ.สายใยรัก(ANC/LR/WCCคุณภาพ) -ตำบลนมแม่ -ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ -ทันตสุขภาพ -โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ -ส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชน -ทันตสุขภาพ -วัยรุ่นตั้งครรภ์ -รพ.ส่งเสริม สุขภาพ -คนไทยไร้พุง -หมู่บ้าน ลดหวาน มัน เค็ม -คัดกรองสุขภาพ -ส่งเสริม 3 อ -คลินิกผู้สูงอายุ คุณภาพ -อำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว -ตำบล LTC วัดส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว วันทำงานสุขภาพดี พ่อ แม่ สุขภาพดี เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย เด็กไทยสูงใหญ่ สมองดีมีทักษะชีวิต ผู้สูงอายุ 80 ปียังแจ๋ว -มารดาตาย 15:แสน -ทารกตาย 15:พัน -BA 25:พัน -LBW 7 % -ANCก่อน 12 wk. / 5ครั้งคุณภาพ/ 3 ครั้งหลังคลอด 60% -นมแม่6เดือน 50 % -พัฒนาการสมวัย 85% -ศพด.คุณภาพ 70 % -นร.มีส่วนสูงระดับดีรูปร่างสมส่วน 70 % -นร.เป็นโรคอ้วน 15 % -เด็กไทยฟันดี -มารดา15-19ปีตั้งครรภ์ ไม่เกิน 50:พันประชากร -โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง 60 % -โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร1แห่ง/อำเภอ -รพ./รพ.สต.มีคลินิก DPAC เพิ่มขึ้น -องค์กรไร้พุง -หมู่บ้าน ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้น -ปชช. มี3อ. 2 ส.เพิ่มขึ้น -ปชช. มีรอบเอว 90 /80 ซม. เพิ่มขึ้น -ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะกายใจ 80 % -มีสุขภาพที่พึงประสงค์ 30 % -อำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว 1 อ. -ตำบล LTC 20 % วัดส่งเสริมสุขภาพ 20 %
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ มารดาตาย ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ทารกตาย หมู่บ้านสายใยรัก ศูนย์ 3 วัย สายใยรัก ปัจเจกบุคคล LBW/BA ชุมชน หมู่บ้านไอโอดีน พัฒนาการ ตำบลนมแม่ โภชนาการ/นมแม่ แม่และเด็ก ทันตสุขภาพ วัคซีน LR คุณภาพ ระบบบริการ สาธารณสุข รพ./รพ.สต. สายใยรักฯ WCC คุณภาพ/กระตุ้นพัฒนาการ ANC คุณภาพ
ตัวชี้วัดกลุ่มสตรี และเด็ก 0-5 ปี • เป้าหมายบริการ • หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 • หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง(12,18,26,32,38) ร้อยละ 60 • มารดาหลังคลอดได้รับการดูแล 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 • เด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 • เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 80 • เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 • เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ 80 • เด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 57 • เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 • เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 95 • เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ • อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิดมีชีพ • เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ อุบัติเหตุ เจริญเติบโต(สูงดีสมส่วน) ยาเสพติด บุหรี่/แอลกอฮอล์ IQ/EQ ตั้งครรภ์ไม่พร้อม เด็กจมน้ำ ปัจเจกบุคคล วัคซีน สภาพแวดล้อม เพศสัมพันธ์ สุขภาพจิตดี ทักษะชีวิต/ความ เข้มแข็งทางใจ สุขภาพตา/หู เด็กวัยเรียน วัยรุ่น สุขภาพช่องปาก สื่อเทคโนโลยี/องค์ความรู้ คลินิกPsychosocial ระบบบริการ สาธารณสุข โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คลินิกวัยรุ่น YFHS โรงเรียนทางเลือกสำหรับวัยรุ่น Teen UP care OSCC/OSOD
ตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยเรียนตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยเรียน • เป้าหมายบริการ • โรงเรียนมีการพัฒนาก้าวสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ • โรงเรียนมีการจัดการคุณภาพอาหารตามเกณฑ์โภชนาการและอาหารปลอดภัย • นักเรียน ป.1 ได้รับวัคซีน MMR(หัด คางทูม หัดเยอรมัน) ร้อยละ 95 • นักเรียน ป.6 ได้รับวัคซีน dT(คอตีบ บาดทะยัก) ร้อยละ 95 • โรงเรียนมีนักเรียนได้รับวัคซีนครอบคลุมตามเกณฑ์ ร้อยละ 95 • โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม น้ำหวาน ขนมกรุบกรอง ร้อยละ 75 • เด็ก ป.1 ได้รับการตรวจช่องปาก ร้อยละ 85 • เด็ก ป.1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 • นักเรียนได้รับบริการตรวจวัดสายตาและการได้ยิน ร้อยละ 70
ตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยเรียนตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยเรียน • เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ • นักเรียนมีภาวะอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ 15 • เด็ก 6-14 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 • เด็กไทยมี IQ เฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 100 • เด็กไทยมี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70 • นักเรียนที่ตรวจพบว่ามีปัญหาการมองเห็นและการได้ยิน ได้รับการดูแลช่วยเหลือ ร้อยละ 70 • โรงเรียนที่มีสภาวะฟันผุ ไม่เกินร้อยละ 55 ลดลง ร้อยละ 1 • อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำอายุ 0-15 ปี ต่อประชากรแสนคน ไม่เกิน 8
ตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยรุ่นตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยรุ่น • เป้าหมายบริการ • สถานบริการมีระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น (YFHS) และ การดูแลทางด้านสังคมจิตใจ (Psychosocial care) • สถานบริการมีระบบการส่งต่อเพื่อดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงระหว่างสถานบริการและสถานศึกษา • สถานบริการมีบริการเชิงรุกในพื้นที่ที่วัยรุ่นและเยาวชนรวมตัวกัน • วัยรุ่น 15-19 ปี ได้รับบริการคุมกำเนิดหลังคลอดหรือแท้งก่อนออกจาก รพ. • วัยรุ่น 15-19 ปี ได้รับบริการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวรหลังคลอดหรือแท้ง ก่อนออกจาก รพ.
ตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยรุ่นตัวชี้วัดกลุ่มเด็กวัยรุ่น เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ 1. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากร อายุ 15 – 19 ปี ไม่เกินร้อยละ 13 2. อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15 - 19 ปี ต่อพันประชากร ไม่เกิน 50 3. ร้อยละศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic ) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ ร้อยละ 70
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ การออกกำลังกาย โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ มะเร็ง การบริโภคอาหาร ความเครียด อ้วนลงพุง พฤติกรรมเสี่ยง สถานประกอบการ ปัจเจกบุคคล DM/HT สภาพแวดล้อม อุบัติเหตุ สุขภาพจิต การโฆษณาชวนเชื่อ โรคจากการ ประกอบอาชีพ วัยทำงาน ความเจริญทางเทคโนโลยี คลินิกวางแผนครอบครัว ระบบบริการ สาธารณสุข คลินิก DPAC รพ.ส่งเสริมสุขภาพ คลินิก NCD มาตรฐานการคัดกรองสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัดกลุ่มวัยทำงานตัวชี้วัดกลุ่มวัยทำงาน • เป้าหมายบริการ • ประชากรวัยทำงานอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงสูงต่อ • การเกิดภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 90 • 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง • ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ 60 • ประชากรวัยทำงาน ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก • ในหญิงอายุ 30 – 60 ปี ผลงานสะสม ร้อยละ 80 • 4. คุณภาพของ DPAC - รพศ./รพท./รพช. ร้อยละ 50 • - รพ.สต. ร้อยละ 30 • 5. คลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 70 • 6. ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง จำนวน 2 แห่ง
เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ 1. ประชากรวัยทำงานในแต่ละพื้นที่ดำเนินการ (Setting ) สามารถจัดการตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด - ตำบลสุขภาพดี ร้อยละ 20 - หมู่บ้านลดหวานมันเค็ม ร้อยละ 20 - ตำบลจัดการสุขภาพดี ร้อยละ 70 - วัดส่งเสริมสุขภาพระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 50 - อำเภอควบคุมโรคแบบยั่งยืน ร้อยละ 70 2. อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10 3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจต่อแสนประชากร ไม่เกิน 23 4. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนต่อแสนประชากร ไม่เกิน 20
ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ ตำบล LTC พิการ ข้อเสื่อม วัดส่งเสริมสุขภาพ ความเครียด อ้วนลงพุง พฤติกรรมเสี่ยง DM/HT ขาดผู้ดูแล ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ซึมเศร้า ประเมินADL สมองเสื่อม อำเภอ/ตำบล 80 ปียังแจ๋ว สูงอายุ/ ผู้พิการ สุขภาพช่องปาก ฟันเทียม คลินิกสายตาเลือนราง ระบบบริการ สาธารณสุข คลินิก สูงอายุคุณภาพ HHC/HW คลินิก เวชกรรมฟื้นฟู มาตรฐานการคัดกรองสุขภาพ 5โรค พัฒนาทักษะกายใจโดยทีมสหวิชาชีพ
ตัวชี้วัดกลุ่มวัยสูงอายุ/ผู้พิการตัวชี้วัดกลุ่มวัยสูงอายุ/ผู้พิการ • เป้าหมายบริการ • 1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพทั้งด้านกายและจิต ร้อยละ 60 • - การทำกิจวัตรประจำวัน (ADL) • - โรคที่เป็นปัญหาสำคัญ/พบบ่อยในผู้สูงอายุ (DM HT ฟัน สายตา) • - กลุ่ม Geriatric Syndrome (ภาวะหกล้ม , การกลั้นปัสสาวะ, • สมรรถภาพสมองMMSE, การนอนไม่หลับ , ภาวะซึมเศร้า, ข้อเข่าเสื่อม) • 2. ผู้สูงอายุ/ผู้พิการได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ร้อยละ 80 • 3. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 30 • 4. รพท./รพศ. มีคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ร้อยละ 30 • 5. รพช.มีคลินิกผู้สูงอายุที่ให้บริการประเมิน/ คัดกรอง/รักษาเบื้องต้น ร้อยละ 30 • 6. รพท./รพศ. มีคลินิกเวชกรรมฟื้นฟูคุณภาพ ร้อยละ 70
ตัวชี้วัดกลุ่มวัยสูงอายุ/ผู้พิการตัวชี้วัดกลุ่มวัยสูงอายุ/ผู้พิการ • เป้าหมายผลลัพธ์ • ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ร้อยละ 20 • ตำบลมีกระบวนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ร้อยละ 60 • คนพิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด)ได้รับบริการ ร้อยละ 80