1 / 39

ผลกระทบของค่าเงินบาท ต่อภาคอุตสาหกรรม และแนวทางการปรับตัว

ผลกระทบของค่าเงินบาท ต่อภาคอุตสาหกรรม และแนวทางการปรับตัว. คณะผู้ทำวิจัย ปัทมาภรณ์ พรายภู่ กุลชลี โหมดพลาย วิมล เลี่ยนเพ็ชร สุทธิรัตน์ กาสา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 21 มิถุนายน 2550. หัวข้อในการนำเสนอ. ความสำคัญของปัญหา วิธีการศึกษา

Download Presentation

ผลกระทบของค่าเงินบาท ต่อภาคอุตสาหกรรม และแนวทางการปรับตัว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบของค่าเงินบาทต่อภาคอุตสาหกรรมและแนวทางการปรับตัวผลกระทบของค่าเงินบาทต่อภาคอุตสาหกรรมและแนวทางการปรับตัว คณะผู้ทำวิจัย ปัทมาภรณ์ พรายภู่ กุลชลี โหมดพลาย วิมล เลี่ยนเพ็ชร สุทธิรัตน์ กาสา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 21 มิถุนายน 2550

  2. หัวข้อในการนำเสนอ • ความสำคัญของปัญหา • วิธีการศึกษา • ผลการศึกษา • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

  3. สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมต่อ GDP ในประเทศไทย ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไตรมาสที่ 1 ปี 2550

  4. สถานการณ์ค่าเงินบาท ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

  5. อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าเงิน(ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2550 เทียบกับต้นปี 2549) ที่มา : CEIC

  6. ความสำคัญของปัญหา กลไกผลกระทบค่าเงินบาท

  7. วิธีการศึกษา • การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม • การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่ง • การวัดผลกระทบ

  8. การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมการแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม • เกณฑ์ในการแบ่งกลุ่ม- สัดส่วนการส่งออกสินค้า- สัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิต • ข้อมูลที่ใช้ - ข้อมูลการสำรวจโรงงานอุตสาหกรรม (รง.9) ปี 2548

  9. ข้อมูลที่นำมาจาก รง.9 ปี 2548 1 มีทั้งหมด 132 อุตสาหกรรม นำมาพิจารณา 89 อุตสาหกรรม ซึ่งเป็น อุตสาหกรรมที่มีข้อมูลโรงงาน 5 โรงงานขึ้นไป (แบ่งประเภทตาม ISIC) 2 คำถามในแบบสำรวจข้อ 5 เรื่องมูลค่าสินค้า - มูลค่าการจำหน่ายสินค้าในประเทศและส่งออก --> สัดส่วนการส่งออก 3 คำถามในแบบสำรวจข้อ 8 เรื่องต้นทุนการผลิต - มูลค่าการใช้วัตถุดิบในประเทศและต่างประเทศ - มูลค่าการใช้เชื้อเพลิงและพลังงาน --> - มูลค่าของค่าเสื่อมโรงงานและเครื่องจักรอุปกรณ์ ข้อมูลการสำรวจโรงงานอุตสาหกรรม (รง.9) สัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิต

  10. การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมตามสัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิตและการส่งออกการแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมตามสัดส่วนการนำเข้าปัจจัยการผลิตและการส่งออก กลุ่ม 3 EXน้อย IMมาก กลุ่ม 1 EX มาก IMมาก น้ำมัน อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องรับทีวี ฮาร์ดดิส ไดร์ฟ เส้นใยประดิษฐ์ หลอดอิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก ยานยนต์ สิ่งทอ พลาสติก อาหาร เฟอร์นิเจอร์ อาหารสัตว์ กลุ่ม 4 EXน้อย IMน้อย กลุ่ม 2 EXมาก IMน้อย

  11. การเปรียบเทียบมูลค่าการผลิตของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆการเปรียบเทียบมูลค่าการผลิตของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ

  12. การเปรียบเทียบมูลค่าเพิ่มของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆการเปรียบเทียบมูลค่าเพิ่มของกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ

  13. การเลือกอุตสาหกรรมเพื่อวิเคราะห์การเลือกอุตสาหกรรมเพื่อวิเคราะห์ • พิจารณาอุตสาหกรรมทุกกลุ่มโดยหาอุตสาหกรรมตัวแทนจากกลุ่มที่เราได้แยกไว้แล้วกลุ่มละ 2 อุตสาหกรรม • เลือกอุตสาหกรรมโดยพิจารณาจาก: - มูลค่าเพิ่ม - ความเชื่อมโยงต่อ อุตสาหกรรมอื่น ข้อมูลจากตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต

  14. กลุ่ม 1 EX มาก IM มาก กลุ่ม 3 EX น้อย IM มาก • เหล็ก • น้ำมัน • อัญมณี • อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม 2 EX มาก IM น้อย กลุ่ม 4 EX น้อย IM น้อย • สิ่งทอ • เฟอร์นิเจอร์ • อาหารสัตว์ • พลาสติก

  15. การคัดเลือกประเทศคู่แข่งการคัดเลือกประเทศคู่แข่ง • เลือกสินค้า 3 อันดับแรก (HS code 4 หลัก) จากอุตสาหกรรมตัวแทน ทั้ง 8 อุตสาหกรรม • หาตลาดส่งออก 3 ประเทศแรกในแต่ละอุตสาหกรรม • พิจารณาการนำเข้าของตลาดส่งออกนั้นว่ามาจากประเทศใด โดย • เลือกประเทศที่มีอันดับการนำเข้าสูงกว่าและต่ำกว่าไทย 10 อันดับ • พิจารณาคุณภาพสินค้าที่มีลักษณะคล้ายกัน

  16. กลุ่ม 1 EX มาก IM มาก กลุ่ม 3 EX น้อย IM มาก • Vietnam -India • -China -Malaysia • Malaysia -India • Indonesia -China กลุ่ม 2 EX มาก IM น้อย กลุ่ม 4 EX น้อย IM น้อย • Vietnam -China -Malaysia • Vietnam -China -Indonesia -India

  17. ประเทศคู่แข่งสำคัญ

  18. ระยะยาว การศึกษา นวัตกรรมและR&D เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ระยะสั้น อัตราแลกเปลี่ยน ค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ ผลผลิตต่อแรงงาน ตัวแปรที่ใช้ในการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่ง

  19. การเปรียบเทียบค่าเงินของประเทศคู่แข่ง( ข้อมูล ณ วันที่ 3 มกราคม 2549 – 31 พฤษภาคม 2550) ที่มา : CEIC

  20. การเปรียบเทียบค่าจ้างแรงงานของประเทศคู่แข่งการเปรียบเทียบค่าจ้างแรงงานของประเทศคู่แข่ง ที่มา : International Labour Organization

  21. การเปรียบเทียบ Labour Productivity ของประเทศคู่แข่ง US$ ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2005

  22. การเปรียบเทียบ Labour Productivity Growthของประเทศคู่แข่ง ที่มา: ธนาคารเพื่อพัฒนาแห่งเอเชีย(ADB) และ OECD

  23. การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการศึกษาการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการศึกษา ที่มา :The Global Competitiveness Report 2005

  24. การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้าน ICT ที่มา :UNCTAD และ IMD World Competitiveness Yearbook 2005

  25. การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการพัฒนาและวิจัยการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งในด้านการพัฒนาและวิจัย ที่มา :The Global Competitiveness Report2005

  26. สัดส่วน R & D ต่อยอดขาย กลุ่ม 3 EXน้อย IMมาก กลุ่ม 1 EX มาก IMมาก น้ำมัน อัญมณี อิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก สิ่งทอ พลาสติก เฟอร์นิเจอร์ อาหารสัตว์ กลุ่ม 4 EXน้อย IMน้อย กลุ่ม 2 EXมาก IMน้อย 0.0150.050.125

  27. การเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งโดยรวมในระยะยาวการเปรียบเทียบประเทศคู่แข่งโดยรวมในระยะยาว

  28. การวัดผลกระทบ • ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อกำไร • ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อตัวแปร ที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลอง เศรษฐกิจมหภาค

  29. กลุ่ม 3 EXน้อย IMมาก กลุ่ม 1 EX มาก IMมาก กลุ่ม 2 EX มาก IMน้อย กลุ่ม 4 EX น้อย IMน้อย 0.15 ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อกำไร น้ำมัน อัญมณี อิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก สิ่งทอ พลาสติก เฟอร์นิเจอร์ อาหารสัตว์ 0.08 – 0.14 0.001 – 0.07

  30. วิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค วิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคโดย Macro Model • สมมติฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ • ปัจจัยอื่น ๆ คงที่ • ค่าเงินประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่งไม่เปลี่ยนแปลง

  31. วิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิเคราะห์ตัวแปรที่สำคัญทางเศรษฐกิจโดยใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาค • กรณีศึกษา • วิเคราะห์ผลกระทบเมื่อค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น 10% • เมื่อมีการเพิ่ม Labour productivity 10% จะทำให้ตัวแปรที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร • เมื่อมีการเพิ่ม Capital productivity 10% จะทำให้ตัวแปรที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร • เมื่อมีการเพิ่ม Labour productivity& Capital productivity อย่างละ10% จะทำให้ตัวแปรที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

  32. กรณีเงินบาทแข็งค่าขึ้น 10%

  33. กรณีเงินบาทแข็งค่า 10%และมีการเพิ่ม Capital productivity10%

  34. กรณีเงินบาทแข็งค่า 10%และมีการเพิ่ม Labor productivity10%

  35. กรณีเงินบาทแข็งค่า 10% เพิ่ม Capital productivity และเพิ่ม Labor productivity อย่างละ 10%

  36. เปรียบเทียบผลกระทบ

  37. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

  38. สรุปจากงานวิจัย • อุตสาหกรรมในกลุ่มที่ 2 ควรได้รับการช่วยเหลือเป็นกลุ่มแรก • การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ การเพิ่ม Value added จากการใช้แรงงานและทุนที่มีคุณภาพสูงขึ้น ช่วยลดผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาท

  39. ระดมความคิดเห็น

More Related