1.59k likes | 1.75k Views
การส่องสว่าง. เสนอ. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. หลอดให้คลื่นรังสีแสง. WAVE LENGTH LIGHT LAMP. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล. มาตรฐานรายวิชา. 1 . เข้าใจแหล่งกำเนิดแสงและคุณสมบัติของแสง. 2 . หาความเข้มการส่องสว่างตามสถานที่ใช้งาน. 3 . เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม.
E N D
การส่องสว่าง เสนอ นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลอดให้คลื่นรังสีแสง WAVE LENGTH LIGHT LAMP
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจแหล่งกำเนิดแสงและคุณสมบัติของแสง 2. หาความเข้มการส่องสว่างตามสถานที่ใช้งาน 3. เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม
เนื้อหาสาระ หลอดที่ให้กำเนิดแสงโดยทั่วไปจะให้แสงที่ตามนุษย์สามารถมองได้ ไม่ว่าจะใช้วิธีเผาไส้วิธีของหลอดไส้ หรือวิธีการกระตุ้นอะตอมของก๊าซภายในหลอดให้เกิดการแตกตัววิธีของหลอดคายประจุ เช่นฟลูออเรสเซนต์ หลอดแสงจันทร์ ฯ แต่หลอดให้คลื่นรังสีแสง จะไม่ได้ให้ที่ตามองเห็นทั่วไป
เนื้อหาสาระ หลอดให้คลื่นรังสีแสงเป็นรูปแสงอัลตร้าไวโอเลต และแสงอินฟาเรด ซึ่งมีประโยชน์ต่อมนุษย์มากมาย ในด้านการอำนวยความสะดวกและการดำรงชีวิต เช่น ใช้ในการฆ่าเชื้อโรค ใช้ตรวจวัตถุ วัดระยะทาง ให้ความร้อนอบสีรถ ฯลฯ
จุดประสงค์ครั้งนี้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้เกี่ยวกับ 1. บอกความหมายของหลอดให้คลื่นรังสีแสง ได้ 2. บอกความเป็นมาหลอดให้คลื่นรังสีแสง ได้ 3. บอกชนิด ขนาดและรูปร่างหลอดให้คลื่นรังสีแสง ได้
สังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิ่งแวดล้อมสังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิ่งแวดล้อม สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง พอประมาณ มีเหตุผล นำสู่ ทางสายกลาง พอเพียง มีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปัญญา
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ... วิศวกรรมการส่องสว่าง.... ชื่อผู้แต่ง..... มงคล ทองสงคราม..... สำนักพิมพ์..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด...... ปีที่พิมพ์....2538........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ... วิศวกรรมการส่องสว่าง.... ชื่อผู้แต่ง..... ศุลี บรรจงจิตร..... สำนักพิมพ์..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด...... ปีที่พิมพ์....2538........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ... พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง.... ชื่อผู้แต่ง..... อ.ไชยะ แช่มช้อย..... สำนักพิมพ์.....เอ็มแอนด์อี จำกัด........ ปีที่พิมพ์....2550........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..การส่องสว่าง.. ชื่อผู้แต่ง.....วิทย์ อ้นจร และคณะ..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ........ ปีที่พิมพ์....2549........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..การส่องสว่าง.. ชื่อผู้แต่ง.....วัฒนา ถาวร ..... สำนักพิมพ์... สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี่ (ไทยญี่ปุ่น).... ปีที่พิมพ์....2536........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
หลอดให้คลื่นรังสีแสง 2 WAVE LENGTH LIGHT LAMP 2
แสงที่มองเห็นด้วยตาเปล่าแสงที่มองเห็นด้วยตาเปล่า
แสงที่มองเห็นด้วยตาเปล่าแสงที่มองเห็นด้วยตาเปล่า
แสงที่มองเห็นด้วยตาเปล่าแสงที่มองเห็นด้วยตาเปล่า
หลอดให้คลื่นรังสีแสง เป็นหลอดที่ให้แสงออกมาในรูปการกระจายคลื่นความถี่แสงหรือรังสีแสง แบ่งได้เป็น 2 ชนิด 1. หลอดให้แสง เป็นรังสีอัลตราไวโอเลต 2. หลอดให้ความร้อน จากรังสีอินฟราเรด
1. หลอดให้แสง เป็นรังสีอัลตราไวโอเลต 2. หลอดให้ความร้อน จากรังสีอินฟราเรด
1. หลอดให้แสง เป็นรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV ) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สั้น ช่วงต่อจากแสงสีม่วง(ระหว่างVisible Spectrum กับ X-ray) เป็นรังสีที่ตาคนมองไม่เห็น และไม่สามารถรับรู้ได้อย่างเช่นเดียวกับคลื่นรังสีอินฟราเรด(IR)
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV ) รังสีเหนือม่วง ถูกพบโดย นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ชื่อโจฮานวิลเฮล์ม ริตเตอร์ พบในสเปคตรัมของแสงแดด โดยเมื่อสารละลาย ซิลเวอร์คลอไรด์กลับ กลายเป็นสารละลาย สีดำทันที
แหล่งกำเนิดรังสีอัลตราไวโอเลต แหล่งกำเนิดของรังสีเหนือม่วง(UV) มีทั้งจากธรรมชาติและจากสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น แต่แหล่งกำเนิดรังสี UV ที่สำคัญ คือ ดวงอาทิตย์ และคนส่วนใหญ่จะได้รับรังสี UV จากแสงแดด แต่เนื่องจากชั้นของบรรยากาศได้ลดลง มนุษย์และสิ่งแวดล้อมจึงได้รับรังสี UV เพิ่มมากขึ้น
แหล่งกำเนิดรังสีอัลตราไวโอเลต รังสี UV เป็นเสมือนดาบสองคม กล่าวคือ หากได้รับรังสีในขนาดต่ำจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้างไวตามินดี แต่ถ้าได้รับมากเกินไปเป็นเวลานานจะมีผลในการทำลาย ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย รวมทั้งผิวหนัง ตา และก่อให้ เกิดมะเร็ง
แหล่งกำเนิดรังสีอัลตราไวโอเลต ไบโอโมเลกุลในร่างกายซึ่งดูดซึมรังสี UV จะเกิดปฏิกิริยาขั้นปฐมภูมิ คือ เกิดการเปลี่ยน แปลงโมเลกุลเล็กน้อยหรือเกิดการเปลี่ยน-แปลงทางโมเลกุลโดยสิ้นเชิง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วแต่มีผลต่อเนื่องในระยะยาว DNA
แหล่งกำเนิดรังสีอัลตราไวโอเลต DNA เป็นโมเลกุลสำคัญที่ถูกทำลายได้ด้วยรังสี UVB = 280-315 nm และ UVC = 100-280 จากการเฝ้าสังเกตการณ์พบว่า เมื่อเซลล์ prokaryotic และ eukaryotic ได้รับรังสี UV จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
แหล่งกำเนิดรังสีอัลตราไวโอเลต รังสี UV จะทำให้เกิดเซลล์ตาย โครโมโซมเปลี่ยนแปลง เกิดการกลายพันธุ์ และการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างของเซลล์ นอกจากนี้ยังพบว่า ยีนหลายตัว และไวรัสหลายชนิดก็ถูกกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยรังสี UV
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV ) ** รังสี UV ทุกชนิด ควรระวังไม่ให้ถูกผิวหนังหรือตา อย่างต่อเนื่อง **
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV ) แบ่งเป็นประเภท ดังนี้ 1. UV-A ช่วงความยาวคลื่น 315 - 380 nm 2. UV-B ช่วงความยาวคลื่น 280 - 315 nm 3. UV-C ช่วงความยาวคลื่น 100 - 280 nm
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV )
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV ) 1. UV-A ช่วงความยาวคลื่น 315 - 380 nmเป็นรังสี UV ที่ไม่ค่อยมีอันตรายมากนัก สามารถนำ มาใช้เป็นประโยชน์ได้หลายด้าน โดยเฉพาะทางด้านเคมี, ฟิสิกส์
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV ) 2. UV-B ช่วงความยาวคลื่น 280 - 315 nm มีผลต่อร่างกายและสิ่งของได้ ก่อให้เกิดการไหม้ของผิวหนัง(Sunburn or Erythematic) และการอักเสบของตาดำ ได้ แต่มีคุณประโยชน์ในการรักษาโรคผิวหนังบางชนิดได้ รวมถึงการประยุกต์ ในงานอุตสาหกรรมเคมี
รังสีอัลตราไวโอเลต • ( Ultraviolet Radiation : UV ) 3. UV-C ช่วงความยาวคลื่น 100 - 280 nm เป็นรังสีที่มีอันตรายต่อร่างกายได้อย่างรุนแรง เช่น ผิวแดงไหม้เกรียม (Erythema) หรือ เยื่อบุตาอักเสบ(Conjunctivitis) ซึ่งเราประยุกต์มาทำ ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคได้
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) • การเร่งปฏิกิริยาเคมีด้วยแสง • (Photochemical Process) 2. การตรวจและวิเคราะห์ชิ้นงาน (Detection, Inspection and Analysis) 3. การฆ่าเชื้อโรค( Disinfection) ด้วยหลอดให้แสงUV-Cที่มีความยาวคลื่น 253.7nm
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) 4. ล่อแมลง (Insect Trap) เช่น จับไปขาย, ทำลายทิ้ง, ล่อออกไป 5. รักษาโรคผิวหนัง 6. การถ่ายเอกสาร ถ่ายพิมพ์เขียว
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) • การเร่งปฏิกิริยาเคมีด้วยแสง • (Photochemical Process)
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) 2. การตรวจและวิเคราะห์ชิ้นงาน (Detection, Inspection and Analysis)
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) 3. การฆ่าเชื้อโรค( Disinfection) ด้วยหลอดให้แสงUV-Cที่มีความยาวคลื่น 253.7nm
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) 4. ล่อแมลง (Insect Trap) เช่น จับไปขาย, ทำลายทิ้ง, ล่อออกไป
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) 5. รักษาโรคผิวหนัง
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต ( UV Lamps ) 6. การถ่ายเอกสาร ถ่ายพิมพ์เขียว
ประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลตประโยชน์ของหลอดไฟอัลตราไวโอเลต 1. การเร่งปฏิกิริยาเคมีด้วยแสง (Photochemical Process) - การทำ ให้อยู่ตัวหรือแข็งตัวโดยวิธีโพลีเมอไรเซชั่น (Curing & Hardening by polymerization) ทำให้หมึก, สี, แล็คเกอร์ แห้งภายในระยะเวลาสั้นๆ จึงทำให้ผลิตสินค้าได้รวดเร็วขึ้น และมีต้นทุนถูกลงได้ - การทำ เพลท (Plate)