460 likes | 561 Views
โดย นายเจริญ ทองศิริผู้อำนวยการโรงเรียนพะโต๊ะวิทยา. การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. เนื้อหาการบรรยาย. * แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน * วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน * สาระสำคัญของตัวระเบียบฯ * มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ. ปัญหาของหน่วยงานภาครัฐ.
E N D
โดย นายเจริญ ทองศิริผู้อำนวยการโรงเรียนพะโต๊ะวิทยา การควบคุมภายในตามระเบียบคตง.
เนื้อหาการบรรยาย * แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน * วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน * สาระสำคัญของตัวระเบียบฯ * มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ
ปัญหาของหน่วยงานภาครัฐปัญหาของหน่วยงานภาครัฐ ปัญหาในการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ ที่ยังขาดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และไม่ปรับตัวให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติปฏิบัติงาน ความสิ้นเปลือง ความสูญเปล่า ความไม่ประหยัด ข้อผิดพลาด ข้อบกพร่อง การรั่วไหล การทุจริตและประพฤติมิชอบ และปัญหาเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์
ความเสี่ยงของหน่วยงานความเสี่ยงของหน่วยงาน • การไม่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย • การบริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ • ผลการดำเนินงานมีข้อบกพร่องผิดพลาด • การใช้จ่ายเงินไม่ประหยัดและไม่คุ้มค่า • มีปัญหาการทุจริต
การควบคุมความเสี่ยงของหน่วยงานการควบคุมความเสี่ยงของหน่วยงาน 1. การกำกับการดูแลที่ดี (Good Governance) 2. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) 3. การควบคุมภายใน (Internal Control)
ระบบการควบคุมภายใน หน่วยงานภาครัฐ จะต้องจัดวางระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการ กำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 เพื่อให้มีการควบคุมกำกับดูแลที่ดีและลดปัญหาความเสี่ยง ภายในหน่วยงาน ซึ่งเป็นการสร้าง วัฒนธรรมองค์กร
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน รวมทั้งการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันการ รั่วไหล สูญเสีย และการทุจริต ความเชื่อถือของรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่ เกี่ยวข้อง
แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายในแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 1. แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำให้ ระบบการควบคุมเกิดขึ้น 3. ให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลเท่านั้น
เหตุผลที่ทำให้การควบคุมภายในล้มเหลวเหตุผลที่ทำให้การควบคุมภายในล้มเหลว * การใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ * ผู้บริหารใช้อำนาจหรืออภิสิทธิ์สั่งการเป็นอย่างอื่น * ผู้ปฏิบัติงานไม่ปฏิบัติตามมาตรการที่องค์กรกำหนด * การสมรู้ร่วมคิดกันโดยทุจริตกระทำการฉ้อโกง * ขาดความเข้าใจในกลไกของการควบคุมที่กำหนดขึ้น * ความคุ้มค่ากับต้นทุนที่เกิดขึ้น
ใครคือผู้รับผิดชอบต่อการวางระบบการควบคุมภายในใครคือผู้รับผิดชอบต่อการวางระบบการควบคุมภายใน - ผู้บริหารระดับสูง - ผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ
หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูงหน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง 1. รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจอยู่เสมอ 2. ประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน 3. กำหนดให้หน่วยตรวจสอบภายในเป็นส่วนหนึ่งของการควบคุมภายใน
หน้าที่ของผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับหน้าที่ของผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ 1. จัดให้มีการควบคุมภายในของส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ 2. สอบทานการปฏิบัติงานที่ใช้บังคับในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ 3. ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการควบคุมภายในให้รัดกุม
สาระสำคัญของระเบียบ คตง. • ตัวระเบียบ 9 ข้อ • มาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ
ตัวระเบียบ มีทั้งหมด 9 ข้อ ข้อ 1 ชื่อระเบียบ ข้อ 2 วันบังคับใช้ ข้อ 3 ความหมายต่าง ๆ ข้อ 4 ผู้รับผิดชอบในการนำมาตรฐานไปใช้
ส่วนที่1: ตัวระเบียบ • - การรายงานความคืบหน้าตามระเบียบฯ ข้อ 5 • จัดวางระบบการควบคุมภายในให้เสร็จภายใน 1 ปี • (27 ต.ค.2544 - 26 ต.ค. 2545) • รายงานความคืบหน้าทุก 2 เดือน (60 วัน) • รายงานครั้งแรกภายในสิ้นเดือน มี.ค. 2545
ส่วนที่1: ตัวระเบียบ (ต่อ) • การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 • รายงานอย่างน้อยปีละครั้ง • รายงานภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ (30 ก.ย.) หรือปีปฏิทิน(31 ธ.ค.) • รายงานครั้งแรกรายงานภายใน 240วัน หรือ ภายในสิ้นเดือนมิ.ย. 2546 • รายงานครั้งปีที่ 2 ภายในสิ้นเดือน ธ.ค. 2546 หรือ มี.ค. 2547 แล้วแต่กรณี
ข้อ 7 ไม่สามารถปฏิบัติได้ ทำข้อตกลง ข้อ 8 บทลงโทษ • แจ้งกระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชา • รายงานต่อประธานรัฐสภา • อาจต้องรับโทษปรับทางปกครอง ตามระเบียบความ ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544
ข้อ 9 ประธาน คตง. มีอำนาจตีความ และวินิจฉัย ปัญหาที่ เกิดขึ้นจากการบังคับใช้ระเบียบนี้
มาตรฐานการควบคุมภายในมาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ
5 องค์ประกอบ • สภาพแวดล้อมของการควบคุม • การประเมินความเสี่ยง • กิจกรรมการควบคุม • สารสนเทศ และการสื่อสาร • การติดตามประเมินผล
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุม หมายถึง ปัจจัยต่างๆซึ่งร่วมกันส่งผลให้มีการควบคุมขึ้นในหน่วยรับตรวจหรือทำให้การควบคุมที่มีอยู่ได้ผลดีขึ้น ในทางตรงกันข้ามก็อาจทำให้การควบคุมย่อหย่อนลงได้
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ปัจจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของการควบคุม - ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร - ความซื่อสัตย์และจริยธรรม - ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากร - โครงสร้างการจัดองค์กร - การมอบอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ - นโยบายและวิธีบริหารบุคลากร
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม มาตรฐาน: ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหาร และบุคลากรของหน่วยรับตรวจต้องสร้างบรรยากาศของการควบคุมเพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยงานรับตรวจเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบและตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายใน รวมทั้งดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี
การสร้างบรรยากาศของการควบคุมการสร้างบรรยากาศของการควบคุม * การควบคุมที่มองไม่เห็น(Soft Controls) ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส การมีผู้นำที่ดี ความมีจริยธรรม * การควบคุมที่มองเห็นได้(Hard Controls) โครงสร้างองค์กร นโยบาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ ฯลฯ
2. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่งไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งาน ไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด
2. การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง มาตรฐาน: ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยง ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบ ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ อย่างเพียงพอและเหมาะสม
การบริหารความเสี่ยง * ยอมรับความเสี่ยงนั้น ไม่แก้ไขใด ๆ * ควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ * พยายามขจัดความเสี่ยงนั้นให้เหลือศูนย์ หรือไม่มีความเสี่ยงนั้น ๆ เลย * โอนความเสี่ยงไปให้บุคคลที่ 3
3. กิจกรรมการควบคุม กิจกรรมการควบคุมหมายถึง นโยบายและวิธีการต่าง ๆที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้บุคลากรของหน่วยงานปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยงและได้รับการสนองตอบโดยมีการปฏิบัติ
3. กิจกรรมการควบคุม มาตรฐาน: ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมที่ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อป้องกัน หรือลดความเสียหายความผิดพลาดที่อาจเกิด ขึ้นและให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุ ประสงค์ของการควบคุมภายใน
3. กิจกรรมการควบคุม ในเบื้องต้นจะต้องแบ่งแยกหน้าที่งานภายในหน่วยงานอย่างเหมาะสม ไม่มอบหมายให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานที่สำคัญ หรืองานที่เสี่ยงต่อความเสียหายตั้งแต่ต้นจนจบ แต่ถ้ามีความจำเป็นให้กำหนดกิจกรรมการควบคุมอื่นที่เหมาะสมทดแทน
3. กิจกรรมการควบคุม * การควบคุมแบบป้องกัน (Preventive Control) * การควบคุมแบบค้นพบ (Detective Control) * การควบคุมแบบแก้ไข (Corrective Control) *การควบคุมแบบส่งเสริม(Directive Control)
4. สารสนเทศและการสื่อสาร • สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทางการเงิน และข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ เกี่ยวกับการ ดำเนินงานของหน่วยงาน ไม่ว่าเป็นข้อมูลจากแหล่งภายใน หรือภายนอก • การสื่อสาร หมายถึง การส่งสารสนเทศระหว่างบุคลากร
4. สารสนเทศและการสื่อสาร ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีสารสนเทศอย่างพอ เพียงและสื่อสารให้ฝ่ายบริหารและบุคลากร อื่นๆที่เหมาะสมทั้งภายในและภายนอกหน่วย รับตรวจ ซึ่งจำเป็นต้องใช้สารสนเทศนั้นใน รูปแบบที่เหมาะสมและทันเวลา มาตรฐาน:
5. การติดตามประเมินผล มาตรฐาน ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผล (Monitoring) โดยการติดตามผลในระหว่าง การปฎิบัติงาน (Ongoing Monitoring) และ การประเมินผลเป็นรายครั้ง (Separate Evaluation)
การติดตามผล(Monitoring) • ใช้สำหรับมาตรการหรือระบบการควบคุมภายในที่อยู่ระหว่างการออกแบบหรือการนำออกสู่การปฏิบัติ
การประเมินผล(Evaluation) • ใช้สำหรับมาตรการหรือระบบการควบคุมภายในที่ได้ใช้ไปแล้วเป็นระยะเวลานานพอสมควรที่จะได้รับการประเมินว่ายังมีความเหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมต่างๆที่เปลี่ยนไปอยู่อีกหรือไม่
การติดตามประเมินผล การประเมินผลเป็นรายครั้ง (Separate Evaluation) การติดตามผล ระหว่างการปฏิบัติงาน (Ongoing Monitoring) ประเมินตนเอง ประเมินอิสระ
ประเมินตนเอง Control Self Assessment ประเมินอิสระ Independent Assessment ภายใน คือ ผู้ตรวจสอบภายใน ทุกคนในองค์กรประเมินความเสี่ยง แบบสอบถาม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ภายนอก คือ ผู้ตรวจสอบอิสระ
สวัสดี 10/25/2014 39
ประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเองประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง CONTROL SELF-ASSESSMENT 40
กระบวนการ ที่เจ้าของกิจกรรมเป็นผู้ประเมิน ระบุปัญหา(ความเสี่ยง) ที่มีผลต่อ ความสำเร็จที่ต้องการ วิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา (ความเสี่ยง) ระบุวิธีการที่มีอยู่(การควบคุม) เพื่อ จัดการกับปัญหา วัดความสามารถ ที่มีอยู่(ประเมินผล)ของวิธีการจัดการกับปัญหา ค้นหาวิธีการจัดการกับปัญหา ถ้าพบว่า ที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอและเกิดผล กำหนดแผนเพื่อการปรับปรุงและการติดตามผล สรุป ขั้นตอนการจัดทำ CSA 10/25/2014 41
ขั้นตอน 1. เลือกกระบวนการปฏิบัติงานที่สำคัญ 2. พิจารณาขั้นตอน/กิจกรรมของกระบวนการนั้น 3. พิจารณาวัตถุประสงค์ของแต่ละขั้นตอน/กิจกรรม 4. ระบุความเสี่ยงของแต่ละขั้นตอน/กิจกรรม 5. ระบุปัจจัยเสี่ยง(สาเหตุ)ทั้งภายในและภายนอกที่ทำให้ขั้นตอน/กิจกรรมไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ การประเมินความเสี่ยง 10/25/2014 42
ยอมรับความเสี่ยงนั้นไม่แก้ไขใดๆยอมรับความเสี่ยงนั้นไม่แก้ไขใดๆ ควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ พยายามขจัดไม่ให้มีความเสี่ยงนั้น โอนความเสี่ยงไปให้บุคคลที่สาม การบริหารความเสี่ยง 10/25/2014 43
สรุปผลการประเมิน ความ เพียงพอ มี ประสิทธิ ภาพ สิ่งที่ต้องปรับปรุง 10/25/2014 44
เป็นการที่เจ้าของกิจกรรม (Process) หรือ หน่วยงาน (Business Unit) ประเมินความสามารถของตนเอง ในการแก้ไขปัญหา (Problems) ที่มีหรืออาจจะเกิดขึ้น ด้วยกระบวนการเหล่านี้ : 1. ระบุผลสำเร็จ/วัตถุประสงค์ ที่ต้องการ 2. ระบุปัญหา(ความเสี่ยง)ที่มี หรืออาจจะเกิดขึ้น จนทำให้มีผลต่อ ผลสำเร็จที่ต้องการ 3. วิเคราะห์ความหนักเบาของปัญหา จากผลกระทบ และโอกาสที่จะเกิดขึ้นของปัญหา 4. วิเคราะห์หาสาเหตุ(ปัจจัยเสี่ยง)ที่แท้จริงของปัญหา 5. ระบุวิธีการแก้ไข/ป้องกันปัญหาที่มีอยู่ 6. เพียงพอกับการป้องกันปัญหาหรือต้องปรับปรุงหรือไม่ สรุปความเข้าใจง่าย ๆ ของ CSA 10/25/2014 45