690 likes | 913 Views
โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ ( Feasibility Study : FS ) ศึกษาการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ( Environmental Impact Assessment : EIA ) และการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์
E N D
โครงการระบบเครือข่ายน้ำในพื้นที่วิกฤติน้ำ 19 พื้นที่ เพื่อศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ (Feasibility Study : FS) ศึกษาการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) และการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment : SEA) ในระดับลุ่มน้ำโขง ชี มูล การประชุมปฐมนิเทศโครงการ พื้นที่ 8 : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย พื้นที่ 11 : ห้วยสายบาตร
1.วัตถุประสงค์และความจำเป็นของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม1.วัตถุประสงค์และความจำเป็นของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ให้เกิดความยั่งยืนทุกมิติอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนา และยุทธศาสตร์ของประเทศ และภูมิภาค
กรอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมกรอบการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (31 สิงหาคม 2552) แนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ (สผ., กันยายน 2551)
ขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นตอนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) การศึกษารายละเอียดโครงการ สำรวจและเก็บตัวอย่างภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม EIA จัดทำมาตรการและแผน ป้องกันและแก้ไข/ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม SIA HIA
ขอบเขตพื้นที่การศึกษา : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้ายและห้วยสายบาตร
3.ขอบเขตการศึกษา : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2316.23 ตร. กม. (1,447,643.75 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่56 ตำบล 13 อำเภอ 4 จังหวัด คือ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดหนองบัวลำภู
3.ขอบเขตการศึกษา : ห้วยสายบาตร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 677.67 ตร. กม. (423518.75 ไร่) ครอบคลุมพื้นที่ 31ตำบล 10อำเภอ 3จังหวัด คือ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ์
ขอบเขตการศึกษา (ต่อ) เกณฑ์กำหนดการคัดเลือกพื้นที่สำหรับพิจารณาศักยภาพและข้อจำกัด • ไม่อยู่ในพื้นที่ดินเค็มมากกว่า 50 % • ไม่อยู่ในพื้นที่แหล่งน้ำ ตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น • ไม่อยู่ในเขตพื้นที่ชุมชนและอุตสาหกรรม • ไม่อยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำระดับชาติและนานาชาติ • ไม่อยู่ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ป่าสงวนแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า • และพื้นที่อนุรักษ์ที่เตรียมประกาศเพิ่มเติม • ไม่อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1A และ 1B • ไม่อยู่ในพื้นที่ชลประทานขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และสูบน้ำด้วยไฟฟ้า • ไม่อยู่ในพื้นที่ภูเขา (SC) มีความลาดชัน>35 % และพื้นที่โคก เนินกันไว้ • เพื่อเป็นป่าชุมชน • ไม่อยู่ในพื้นที่ถนนทางหลวงสายหลัก 1,2,3 หมายเลข • ไม่อยู่ในพื้นที่สนามบิน
5. การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม การตรวจสอบพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆ และพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม
5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม
5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม
5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม
5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม
5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม5.การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าที่ศึกษาปัจจัยทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าที่ศึกษา
1 2 แนวทางและวิธีการศึกษา คุณภาพน้ำผิวดิน • เก็บตัวอย่างน้ำของแหล่งน้ำบริเวณพื้นที่ศึกษาโครงการจำนวน 7 จุด (ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย) และ 5 จุด (ห้วยสายบาตร) • ครอบคลุม 3 ฤดูกาล ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน • ดัชนีคุณภาพน้ำ 34 ดัชนี ลักษณะทางกายภาพ 7 ดัชนี ทางเคมี 11 ดัชนี ทางชีวภาพ 2 ดัชนี โลหะหนัก 6 ดัชนี ลักษณะสมบัติเพื่อการชลประทาน7 ดัชนีสารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ 1 ดัชนี คุณภาพน้ำใต้ดิน • เก็บตัวอย่างน้ำของแหล่งน้ำใต้ดิน (บ่อน้ำตื้น บ่อน้ำบาดาล) ของชุมชนพื้นที่ศึกษาโครงการจำนวน 7 จุด (อุบลรัตน์ฝั่งซ้าย) และ5 จุด (ห้วยสายบาตร) • จำนวน 2 ครั้ง ฤดูฝน และฤดูแล้ง • ดัชนีคุณภาพน้ำ 18 ดัชนี ลักษณะทางกายภาพ 5 ดัชนี ทางเคมี 9 ดัชนี โลหะหนัก 3 ดัชนี บัคเตรี/ แบคทีเรีย 1 ดัชนี
3 4 แนวทางและวิธีการศึกษา ธรณีวิทยาและการเกิดแผ่นดินไหว • ศึกษาลักษณะธรณีวิทยา ในด้านชั้นหินชุด สภาพธรณีสัณฐาน • วิเคราะห์ความมีพลังของแนวรอยเลื่อน ทรัพยากรดิน • เก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ชลประทาน เพื่อวิเคราะห์หาระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน และดินเค็ม • ศึกษาการจำแนกดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน และคุณภาพของดิน ทางด้านการเกษตรและด้านวิศวกรรม
5 6 แนวทางและวิธีการศึกษา นิเวศวิทยาทางน้ำ • เก็บตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในน้ำ บริเวณสถานีและช่วงเวลาเดียวกับการเก็บตัวอย่างน้ำผิวดิน • ดัชนีที่วิเคราะห์ แพลงก์ตอน และสัตว์หน้าดิน พันธุ์ไม้น้ำ และปลา ทรัพยากรป่าไม้/การใช้ประโยชน์จากป่า • วางแปลงตัวอย่างเพื่อสำรวจด้านนิเวศวิทยาป่าไม้บริเวณพื้นที่ที่คาดว่าได้รับผลกระทบ • ศึกษาประเภทป่า ชนิดของไม้ ระบบนิเวศป่าไม้ ความหนาแน่นของไม้ ความหลากหลายของไม้ • พื้นที่หาของป่า ชนิดและประเภทของป่าที่หาได้ ผลผลิตและมูลค่า
7 8 แนวทางและวิธีการศึกษา สัตว์ป่า • สำรวจสัตว์ป่าในพื้นที่โครงการ ทั้งจากการเดินสำรวจ และสอบถามประชาชนในพื้นที่ (สำรวจ 2 ฤดูกาล) • ศึกษาสภาพนิเวศของพื้นที่ ชนิด ความชุกชุม และสถานภาพของสัตว์ป่า การใช้ประโยชน์ที่ดิน • ทบทวนและจัดทำแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่โครงการ • ตรวจสอบสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในภาคสนาม เพื่อนำมาปรับข้อมูล ให้เป็นปัจจุบัน
10 9 แนวทางและวิธีการศึกษา การคมนาคมขนส่ง • ศึกษาโครงข่ายเส้นทางคมนาคมที่สำคัญต่อเชื่อมกับพื้นที่โครงการ • ตรวจสอบสภาพเส้นทางคมนาคมและการใช้ประโยชน์ของเส้นทาง เกษตรกรรมและการปศุสัตว์ • รวบรวมข้อมูลการเกษตรกรรมและปศุสัตว์บริเวณพื้นที่โครงการ • สัมภาษณ์เกษตรกรบริเวณที่ได้รับประโยชน์และผลกระทบจากโครงการ พร้อมการสำรวจด้านเศรษฐกิจ-สังคม • ศึกษาระบบเพาะปลูกและปศุสัตว์ ประเภท ชนิดพันธุ์ ผลผลิต ปัญหาและอุปสรรค
11 12 แนวทางและวิธีการศึกษา สภาพเศรษฐกิจ-สังคม • รวบรวมข้อมูลด้านประชากรและการปกครอง จำนวนครัวเรือน การประกอบอาชีพ สภาพสังคม ของชุมชนในระดับตำบล/อำเภอ • การสัมภาษณ์ด้านเศรษฐกิจ-สังคมและทัศนคติ ครอบคลุมกลุ่มผู้นำและผู้ให้ข้อมูลชุมชน ไม่น้อยกว่า 400 ครัวเรือน สาธารณสุขและอาชีวอนามัย • รวบรวมข้อมูลสภาพสาธารณสุข สถานการณ์อาชีวอนามัยและโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ • รวบรวมผลการสำรวจภาคสนามของการศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพ
13 14 แนวทางและวิธีการศึกษา แหล่งโบราณคดีและแหล่งท่องเที่ยว • ตรวจสอบตำแหน่งที่ตั้งของแหล่งโบราณคดี แหล่งท่องเที่ยว และ สถานที่สำคัญของชุมชน • การสังเกตหรือสอบถามข้อมูลจากประชาชนในพื้นที่ การชดเชยทรัพย์สินและการอพยพตั้งถิ่นฐานใหม่ • สำรวจการถือครองที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง พืชผลและไม้ยืนต้น บริเวณพื้นที่พัฒนาโครงการ เพื่อประเมินทรัพย์สิน • สอบถามทัศนคติของผู้ที่อาจได้รับผลกระทบด้านการชดเชยทรัพย์สิน
จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ 1 18 2 11 4 13 3 16 5 สถานีเก็บตัวอย่างน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ 10 3-12 สถานีเก็บตัวอย่างน้ำใต้ดิน 6 6 7 3
จุดเก็บคุณภาพน้ำผิวดิน/นิเวศวิทยาทางน้ำ : ท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย
จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำผิวดินและนิเวศวิทยาทางน้ำ
จุดเก็บคุณภาพน้ำผิวดิน/นิเวศวิทยาทางน้ำ : ห้วยสายบาตร จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำฝนิเวศทางน้ำ : ลุ่มน้ำสาขาห้วยสายบาตร
ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดินดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดิน กายภาพ
ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดิน (ต่อ) เคมี
ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำผิวดิน (ต่อ) ชีวภาพ โลหะหนัก
คุณภาพน้ำใต้ดิน 1 2 4 3 5 3-12 สถานีเก็บตัวอย่างน้ำใต้ดิน 6 7
จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดินจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดิน
จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดินจุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำใต้ดิน
จุดเก็บคุณภาพน้ำใต้ดิน : ห้วยสายบาตร จุดเก็บตัวอย่างคุณภาพน้ำฝนิเวศทางน้ำ : ลุ่มน้ำสาขาห้วยสายบาตร
ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดินดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน กายภาพ
ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน (ต่อ) เคมี
ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน (ต่อ) แบคทีเรีย
ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำใต้ดิน (ต่อ) แบคทีเรีย
พารามิเตอร์วิเคราะห์ดินพารามิเตอร์วิเคราะห์ดิน • ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) • ความเป็นกรด-ด่าง (pH) • ปริมาณปูนที่ควรใช้แก้ไขดินกรด (LR) • เนื้อดิน (Texture) • ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available P) • และ Exchangeable K, Caและ Mg • ค่าการนำไฟฟ้า ฯลฯ เป็นต้น
3-37 สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน แผนที่แสดงการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ฝั่งซ้าย
3-34 แผนที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ
การศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคมการศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคม หัวข้อ • ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนและประชาชนกลุ่มเป้าหมาย • สภาพเศรษฐกิจ-สังคมของครัวเรือน • สภาพการใช้ประโยชน์และถือครองที่ดิน • สภาพสังคม การพัฒนาชุมชน และการมีส่วนร่วม • ในการพัฒนาชุมชน
การศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคม(ต่อ) หัวข้อ • โครงสร้างพื้นฐาน บริการสาธารณูปโภคและ • สภาพแวดล้อมของชุมชน • ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันของพื้นที่โครงการ • ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย • การรับรู้ข่าวสารทั่วๆ ไป ข่าวสารโครงการ และความ • คิดเห็นที่มีต่อโครงการ
การศึกษาด้านสาธารณสุขและอาชีวอนามัย สำรวจข้อมูลทุติยภูมิด้านสุขภาพอนามัยจากสถานพยาบาลในพื้นที่ศึกษา ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการ ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตของประชาชนในพื้นที่โครงการ ศึกษาเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคต่างๆ เช่น พยาธิ ไข้เลือดออก มาลาเรีย ฯลฯ อนามัยสิ่งแวดล้อมของครัวเรือนและชุมชน
โบราณคดีและสิ่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ รวบรวมข้อมูลปัจจุบันด้านโบราณคดีและสิ่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศึกษาตำแหน่ง ที่ตั้ง อายุ และลักษณะคุณค่าทางประวัติศาสตร์ บริเวณที่จะถูกน้ำท่วม หรือพื้นที่อพยพ (ถ้ามี) ตรวจสอบแหล่งโบราณคดีในพื้นที่โครงการกับกรมศิลปากร
สุนทรียภาพและการท่องเที่ยว สำรวจข้อมูลทุติยภูมิด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่ศึกษา ศึกษาเกี่ยวกับตำแหน่ง ที่ตั้ง และบริเวณใกล้เคียงพื้นที่พัฒนาโครงการ ศึกษาเกี่ยวกับสถิติการท่องเที่ยว จำนวนนักท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยว ศึกษาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวของท้องถิ่น ศึกษาความงดงามของทัศนียภาพและภูมิทัศน์ในปัจจุบัน แหล่งทองเที่ยวและนันทนาการ
การชดเชยทรัพย์สิน และการตั้งถิ่นฐานใหม่ สำรวจจำนวนครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบโดยตรง รวบรวมข้อมูลราคาประเมินที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปัจจุบัน รวบรวมข้อมูลราคาพืชผลและไม้ยืนต้นทางการเกษตร กำหนดทางเลือกที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ (ถ้ามี) ประเมินค่าเสียหายทางทรัพย์สินและสาธารณสมบัติของประชาชน วางแผนการจ่ายค่าชดเชยและกำหนดเวลา หลักเกณฑ์การจ่ายเงินตามข้อกำหนดหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลักษณะโครงการที่จะพัฒนา ข้อมูลสภาพแวดล้อมปัจจุบัน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่คาดว่าจะเกิดขึ้น มาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ HEALTH =H IMPACT = I ASSESSMENT =A (HIA)
1.วัตถุประสงค์และความจำเป็นของ HIA เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการพัฒนาทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่อย่างยั่งยืนทุกมิติ เพื่อคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางบวกและทางลบ เพื่อเสนอมาตรการป้องกันและลดผลกระทบ และส่งเสริมด้านสุขภาพ เพื่อเสนอมาตรการติดตาม ประเมินผลและเฝ้าระวัง ผลกระทบด้านสุขภาพ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมสอดคล้องกับนโยบาย แผนพัฒนา ของรัฐและยุทธศาสตร์ของประเทศและภูมิภาค