970 likes | 1.2k Views
“การวางแผนกำลังคน โดยใช้ดัชนีชี้วัดสุขภาพทรัพยากรบุคคล : กรณีกรมสุขภาพจิต”. นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ กองการเจ้าหน้าที่. ณ บ้านอัมพวารีสอร์ท จ.สมุทรสงคราม. วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554. วิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิต. Age Education Gender Religious.
E N D
“การวางแผนกำลังคนโดยใช้ดัชนีชี้วัดสุขภาพทรัพยากรบุคคล: กรณีกรมสุขภาพจิต” นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ กองการเจ้าหน้าที่ ณ บ้านอัมพวารีสอร์ท จ.สมุทรสงคราม วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554
วิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิตวิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิต • Age • Education • Gender • Religious เป็นองค์กรมาตรฐานการพัฒนาสุขภาพจิตทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ ตลอดจนเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตของประเทศ • IT Staff Ratio • Computer Skill เป็นศูนย์กลางการประสานงานความร่วมมือทางวิชาการสุขภาพจิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • Foreign Language Skill • Span of Control • Over Time Cost • Competency • Type of Employment เป็นองค์กรที่มีการบริหารที่ดีเยี่ยม มีขนาดกะทัดรัด คล่องตัว มีบุคลากรที่มีคุณภาพ
วิสัยทัศน์ในกรอบแนวทางการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ฯทื่11วิสัยทัศน์ในกรอบแนวทางการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ฯทื่11 วิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิต “กรมสุขภาพจิตเป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศด้านวิชาการสุขภาพจิตมีคุณภาพและมาตรฐานในการบริการสุขภาพจิต เป็นที่พึ่งของสังคมในการดูแลสุขภาพจิตของคนไทย”
พันธกิจกรมสุขภาพจิต 1. พัฒนา ผลิต และถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชแก่เครือข่ายและประชาชน 2. บริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม และทันต่อสถานการณ์แก่ผู้ป่วยที่มีปัญหารุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน ด้วยกระบวนการศึกษา วิจัยที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็นศูนย์กลางทางวิชาการด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านการบริการจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 5พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร มาตรการที่ 5.5 พัฒนาสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมฯ ให้สามารถรองรับภารกิจและวิสัยทัศน์ที่กำหนด
นโยบายผู้บริหารกรมสุขภาพจิตนโยบายผู้บริหารกรมสุขภาพจิต สิ่งที่ท้าทายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในอีก 5 ปีข้างหน้า • Skill (ทักษะการสื่อสารกับสังคม,การทำงานกับเครือข่าย) • Turnover rate การรักษาแพทย์/พยาบาล (ความจงรักภักดีต่อหน่วยงาน)
ดัชนีสุขภาพทรัพยากรบุคคล 22 ดัชนี ด้านบุคลากร7ดัชนี ด้านหน่วยงาน15 ดัชนี ระดับหน่วยงาน9ดัชนี 1. อายุ ระดับบุคลากร6ดัชนี • 1. การทำงานล่วงเวลา 2. เพศ • 1. ภาระด้านเวลา 3. เชื้อชาติ/ศาสนา • 2. สภาพหนี้ • 2. สัดส่วนบุคลากรที่มีเงินเดือนตัน 4. ภูมิลำเนา • 3. ทักษะการทำงานในอนาคต • 3. Manager : staff ratio 5. การศึกษา • 4.ความจงรักภักดี • 4. HR : staff ratio 6. สถานภาพสมรส • 5. อัตราการลาป่วย • 5. IT : staff ratio 7. ผู้พิการ • 6. การใช้เวลาว่าง • 6. ต้นทุนในการสรรหาบุคลากร • 7. สัดส่วนการหมุนเวียนของบุคลากร • 8. สัดส่วนผู้ถูกสั่งให้ไปช่วยราชการ • 9. สัดส่วนประเภทการจ้างงานบุคลากร
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร มาตรการที่ 5.5พัฒนาสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมฯ
การประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลการประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลการประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลการประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลการประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลการประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลการประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลการประเมินสถานภาพปัจจุบันด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
วิธีการได้มาซึ่งข้อมูลดัชนีชี้วัดสุขภาพทรัพยากรบุคคลวิธีการได้มาซึ่งข้อมูลดัชนีชี้วัดสุขภาพทรัพยากรบุคคล 1. ฐานข้อมูลบุคลากรของหน่วยงาน อาทิ DPIS 1.1 อายุ 1.2 การศึกษา(แรกบรรจุ) 1.3 สัดส่วนของบุคลากรที่มีเงินเดือนตัน 1.4 Manager : staff ratio 1.5 HR : staff ratio
วิธีการได้มาซึ่งข้อมูลดัชนีชี้วัดสุขภาพทรัพยากรบุคคลวิธีการได้มาซึ่งข้อมูลดัชนีชี้วัดสุขภาพทรัพยากรบุคคล 2. การสำรวจข้อมูลโดยใช้แบบสำรวจข้อมูลบุคลากรกรมสุขภาพจิต ส่วนที่ 1ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2ข้อมูลด้านการศึกษา (แรกบรรจุ/ศึกษาเพิ่มเติม) ส่วนที่ 3ข้อมูลด้านการปฏิบัติงาน (สังกัด/ตำแหน่ง/ระดับ/สถานภาพ การปฏิบัติงาน/ความรับผิดชอบ) ส่วนที่ 4 ทักษะการปฏิบัติงาน ภาษาอังกฤษ 7 ข้อ คอมพิวเตอร์ 5 ข้อ การสื่อสารทางสังคม 4 ข้อ ส่วนที่ 5ทัศนะคติที่มีต่อหน่วยงาน 5 ข้อ ส่วนที่ 6ภาระหนี้ ส่วนที่ 7การใช้เวลาว่าง
การสำรวจข้อมูล 1. กลุ่มตัวอย่างที่ดำเนินการสำรวจ
การสำรวจข้อมูล 2. เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจ แบบสำรวจข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 3. ระยะเวลาในการสำรวจข้อมูล 1 เดือน 3 วัน (21 ธ.ค. 53 – 24 ม.ค. 54)
ดัชนีสุขภาพทรัพยากรบุคคลที่กรมสุขภาพจิตเลือก 7 ตัว ด้านหน่วยงาน5 ดัชนี ด้านบุคลากร2ดัชนี ระดับบุคลากร2ดัชนี ระดับหน่วยงาน3ดัชนี • 5. สัดส่วนบุคลากรที่มีเงินเดือนตัน • 3. ทักษะการทำงานในอนาคต 1. อายุ 2. การศึกษา • 4.ความจงรักภักดี • 6. Manager : staff ratio • 7. HR : staff ratio
ดัชนีตัวที่ 1: อายุ หลักการ ความต่างของ “อายุ” นำไปสู่ความแตกต่างในหลายๆ มิติซึ่งหน่วยงานจำเป็นต้องตระหนักถึงและวางแนวทางในการบริหารจัดการให้เป้าหมายของหน่วยงานกับเป้าหมายของบุคลากรสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
ดัชนีตัวที่ 1: อายุ เกณฑ์และวิธีการคิดคะแนน หลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนน จากความสำคัญของแต่ละกลุ่มช่วงอายุที่มีต่อหน่วยงาน ความยากง่ายในการหาบุคลากรทดแทน รวมทั้งความเหมาะสม และเป็นไปของอัตราทดแทนของช่วงอายุต่อไปที่จะไล่ขึ้นมาแทนที่และมีผลต่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และขนาดของหน่วยงาน
ดัชนีตัวที่ 1: อายุ โครงสร้างอายุของบุคลากรกรมสุขภาพจิต
ดัชนีตัวที่ 1: อายุ ส่วนราชการที่ได้ 4 คะแนน • มีโครงสร้างอายุแบบทรงกระบอก มีบุคลากรทดแทนในแต่ละช่วงอายุในจำนวนที่เท่าเดิมอยู่ตลอดเวลา • เป็นโครงสร้างของหน่วยงานที่ไม่มีการขยายภารกิจใดๆ เหมาะสำหรับหน่วยงานที่มีภารกิจแบบ project based และหากจะมีการเติมภารกิจใดๆหน่วยงานจะสามารถพิจารณาใช้การจ้างในลักษณะอื่นๆ เช่น การจ้างเหมาบริการ การจ้างแบบไม่ประจำ การจ้างแบบไม่เต็มเวลา • เป็นโครงสร้างอายุของหน่วยงานที่เหมาะกับส่วนราชการในอนาคต
ดัชนีตัวที่ 1: อายุ ส่วนราชการที่ได้ 5 คะแนน • มีโครงสร้างอายุคล้ายปิรามิด คือ จะมีบุคลากรช่วงอายุ 57 –60 ปี อยู่ประมาณ 5% ซึ่งสอดคล้องปริมาณตำแหน่งของผู้บริหารระดับสูงและเป็นจำนวนที่เท่ากับหรือใกล้เคียงกับบุคลากรในช่วงอายุ 18 – 24 ปี ที่เติมเข้ามาในหน่วยงาน
ดัชนีตัวที่ 1: อายุ ค่าดัชนีอายุของบุคลากรกรมสุขภาพจิตได้ 4.5 คะแนน • มีบุคลากรช่วงอายุ 45 – 48 ปี มากที่สุดคือ 19.02% ในขณะที่กลุ่มที่จะเติมเข้ามาจากช่วงอายุก่อนหน้านี้จะมีจำนวนน้อยกว่าเล็กน้อย เป็นการเปิดโอกาสให้หน่วยงานสามารถเลือกสรรหาจากภายนอกเข้ามาเสริมความเข้มแข็งให้หน่วยงานได้ และในช่วงอายุต่อมาก็มีสัดส่วนของบุคลากรที่น้อยกว่าเล็กน้อยซึ่งจะไม่เป็นปัญหาในกรณีที่หน่วยงานเติมบุคลากรแบบสัญญาจ้างเพื่อให้มีกำลังคนในปริมาณที่เหมาะสม
ดัชนีตัวที่ 1: อายุ ค่าดัชนีอายุของบุคลากรกรมสุขภาพจิตได้ 4.5 คะแนน • การเคลื่อนตัวของบุคลากรในช่วงอายุ 53 – 56 ปี ไปแทนที่กลุ่มผู้บริหารระดับสูงซึ่งมีจำนวนน้อยกว่าจะเป็นช่วงที่จะสามารถเลือก early retire และเปิดให้หน่วยงานได้เลือกบุคคลที่เหมาะสมสิ่งสำคัญคือการมีแผนสืบทอดตำแหน่งชัดเจน เป็นธรรมเพื่อป้องกันบุคคลที่เหมาะสมออกไปจากหน่วยงานในช่วงสุดท้ายนี้
ดัชนีสุขภาพทรัพยากรบุคคลที่กรมสุขภาพจิตเลือก 7 ตัว ด้านหน่วยงาน5 ดัชนี ด้านบุคลากร2ดัชนี ระดับบุคลากร2ดัชนี ระดับหน่วยงาน3ดัชนี • 5. สัดส่วนบุคลากรที่มีเงินเดือนตัน • 3. ทักษะการทำงานในอนาคต 1. อายุ 2. การศึกษา • 4.ความจงรักภักดี • 6. Manager : staff ratio • 7. HR : staff ratio
ดัชนีตัวที่ 2: การศึกษา หลักการ การศึกษาของบุคลากรเป็นมิติที่สามารถประเมินสุขภาพด้านทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานใน 3 ด้าน กล่าวคือ 1. ระดับการศึกษา สะท้อนถึงคุณภาพของบุคลากรและศักยภาพของหน่วยงานโดยเฉพาะหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานวิชาการ ย่อมต้องการบุคลากรที่มีระดับการศึกษาสูงเพื่อให้สามารถนำความรู้มาประมวล ต่อยอด พัฒนา ปรับแปลงความรู้ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
ดัชนีตัวที่ 2: การศึกษา หลักการ 2. สาขาการศึกษาจะพิจารณาควบคู่ไปกับตำแหน่งและภารกิจที่ได้รับมอบหมาย โดยเฉพาะตำแหน่งประเภทวิชาชีพ ต้องมีความสอดคล้องกันระหว่างองค์ความรู้กับตำแหน่งหน้าที่การปฏิบัติงาน 3. สถาบันการศึกษา ประเทศที่จบการศึกษาที่หลากหลาย ย่อมได้รับประโยชน์จากการมีหลายแง่คิด มุมมองเพื่อเติมเต็มซึ่งกันและกัน
ดัชนีตัวที่ 2: การศึกษา คำจำกัดความ การศึกษา หมายถึง ร้อยละของบุคลากรที่มีระดับการศึกษา สาขาการศึกษาเหมาะกับหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ดัชนีตัวที่ 2: การศึกษา เกณฑ์และวิธีการคิดคะแนน การศึกษา= (X) N *100 X = จำนวนบุคลากรที่มีระดับการศึกษาและสาขาที่สำเร็จตรงกับตำแหน่ง N = จำนวนบุคลากรทั้งหมดของหน่วยงาน
ดัชนีตัวที่ 2: การศึกษา ค่าที่คำนวณได้ การศึกษา= (3,044-373) = 87.75 3,044 *100 X = จำนวนบุคลากรที่มีระดับการศึกษาและสาขาที่สำเร็จตรงกับตำแหน่ง 3,044 (บุคลากรทั้งหมด) – 373 (บุคลากรที่มีการศึกษาไม่ตรงตำแหน่ง) N = จำนวนบุคลากรทั้งหมดของหน่วยงาน
ดัชนีตัวที่ 2: การศึกษา หมายเหตุ : ดังนั้นถ้าคำนวณตามสูตรแล้วจะได้คะแนนเต็มเนื่องจากการสรรหาบุคลากรของกรมสุขภาพจิตยึดถือตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของสำนักงาน ก.พ. เป็นหลัก ดังนั้น บุคลากรทั้งหมดจึงมีระดับการศึกษาและสาขาที่สำเร็จตรงกับตำแหน่ง แต่มีข้อสังเกต ดังนี้ 1 เนื่องจากมีบุคลากรกรมสุขภาพจิตที่ไปศึกษาต่อเพิ่มเติม ในสาขาที่ไม่ตรงกับสายงานที่ตนเองปฏิบัติงานอยู่ หรืออาจเป็นข้าราชการที่บรรจุในตำแหน่งที่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ทำให้ไม่สามารถใช้ศักยภาพได้เต็มที่ ซึ่งรวมแล้วมี จำนวน 373 คน 2. ควรมีการนำข้อมูลของบุคคลตามข้อ 1 มาศึกษาเพื่อการใช้ประโยชน์จากบุคลากรที่มีวุฒิการศึกษาเพิ่มเติมเหล่านี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ดัชนีตัวที่ 2: การศึกษา เกณฑ์และการคิดคะแนนของกรมสุขภาพจิต เกณฑ์ในการเทียบเคียงค่าคะแนนของหน่วยงาน จะแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 87.75 คิดเป็น 4.5 คะแนน
ดัชนีสุขภาพทรัพยากรบุคคลที่กรมสุขภาพจิตเลือก 7 ตัว ด้านหน่วยงาน5 ดัชนี ด้านบุคลากร2ดัชนี ระดับบุคลากร2ดัชนี ระดับหน่วยงาน3ดัชนี • 5. สัดส่วนบุคลากรที่มีเงินเดือนตัน • 3. ทักษะการทำงานในอนาคต 1. อายุ 2. การศึกษา • 4.ความจงรักภักดี • 6. Manager : staff ratio • 7. HR : staff ratio
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต หลักการ • ทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในอนาคตของบุคลากรได้แก่ • ทักษะด้านภาษา • ทักษะทางคอมพิวเตอร์เพื่อรองรับกระแสโลกาภิวัตน์และความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ • ทักษะการสื่อสารทางสังคม(เพิ่มเติมกรณีกรมสุขภาพจิต) • หากหน่วยงานมีบุคลากรที่มีทักษะทั้งสองประการนี้ ย่อมหมายถึงหน่วยงานนั้นมีความพร้อมสำหรับการเติบโตและพัฒนาไปข้างหน้า
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต 1. ทักษะด้านภาษา ซึ่งทักษะทางภาษาที่กรมสุขภาพจิตได้ดำเนินการสำรวจครั้งนี้ คือ ภาษาอังกฤษ เนื่องจากเป็นภาษาที่ทุกประเทศใช้เป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยใช้ข้อคำถามให้ผู้ตอบประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษของตนเอง จำนวน 7 ข้อ แต่อย่างไรก็ตามนอกเหนือจากภาษาอังกฤษแล้ว ภาษาที่จะกรมฯ อาจพิจารณาในอนาคต ซึ่งเป็นภาษาที่มีคนใช้เป็นจำนวนมากในภูมิภาคอาเซียน เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม ฯลฯ ต่อไป
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต เกณฑ์ในการคิดคะแนนทักษะทางภาษา ค่าเฉลี่ยที่ทำได้ = ∑ จำนวนข้อที่ตอบว่าทำได้ จำนวนบุคลากร x จำนวนข้อแบบสอบถาม คำนวณ 2.0811 = 44,344 ข้อ 3,044 คนx 7 ข้อ
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต เกณฑ์การเทียบคะแนนทักษะทางภาษา เกณฑ์ในการเทียบเคียงค่าคะแนนของหน่วยงาน แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ (2.0811)
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต 2. ทักษะทางคอมพิวเตอร์ สังคมฐานความรู้ที่เปิดกว้างอย่างไร้ขอบเขตเกิดขึ้นได้ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีอื่นๆ การเกิดขึ้นของชุมชนเสมือน การเกิดฐานข้อมูลจำนวนมหาศาล บุคคลที่มีทักษะมีความสามารถในการเข้าถึงซึ่งข้อมูลและติดต่อสื่อสาร ย่อมส่งผลต่อความสำเร็จของหน่วยงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อภาครัฐมุ่งที่จะสร้าง E-Government ดังนั้น กรมสุขภาพจิตได้ดำเนินการสำรวจทักษะทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้ข้อคำถามให้ผู้ตอบประเมินความสามารถทางคอมพิวเตอร์ของตนเอง จำนวน 5 ข้อ
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต เกณฑ์ในการคิดคะแนนทักษะคอมพิวเตอร์ ค่าเฉลี่ยที่ทำได้ = ∑ จำนวนข้อที่ตอบว่าทำได้ จำนวนบุคลากร x จำนวนข้อแบบสอบถาม คำนวณ 2.2388 = 34,075 ข้อ 3,044 คนx 5 ข้อ
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต เกณฑ์การเทียบคะแนนทักษะคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเทียบเคียงค่าคะแนนของหน่วยงาน แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ (2.2388)
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต 3. ทักษะการสื่อสารทางสังคม ด้วยพันธกิจของกรมสุขภาพจิต คือ การพัฒนา ผลิต และถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชแก่เครือข่ายและประชาชน ดังนั้น ทักษะที่สำคัญของบุคลากรกรมสุขภาพจิต คือ ความสามารถสื่อสารกับสังคม(เครือข่ายและประชาชน ) ดังนั้น กรมสุขภาพจิตได้ดำเนินการสำรวจทักษะการสื่อสารทางสังคม โดยใช้ข้อคำถามให้ผู้ตอบประเมินความสามารถทางการสื่อสารของตนเอง จำนวน 4 ข้อ
ดัชนีตัวที่ 3:ทักษะการทำงานในอนาคต เกณฑ์ในการคิดคะแนนการสื่อสาร ค่าเฉลี่ยที่ทำได้ = ∑ จำนวนข้อที่ตอบว่าทำได้ จำนวนบุคลากร x จำนวนข้อแบบสอบถาม คำนวณ 3.0555 = 37,204 ข้อ 3,044 คนx 4 ข้อ