570 likes | 936 Views
อ.สุปราณี วงษ์แสงจันทร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ supraneev@eau.ac.th. บทที่ 4 ระบบฐานข้อมูลและ การจัดการมูล. วัตถุประสงค์. สามารถอธิบายโครงสร้างแฟ้มข้อมูลเบื้องต้นและปัญหาพื้นฐาน สามารถอธิบายกระบวนการที่ระบบจัดการฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูล
E N D
อ.สุปราณี วงษ์แสงจันทร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ supraneev@eau.ac.th บทที่ 4 ระบบฐานข้อมูลและ การจัดการมูล
วัตถุประสงค์ • สามารถอธิบายโครงสร้างแฟ้มข้อมูลเบื้องต้นและปัญหาพื้นฐาน • สามารถอธิบายกระบวนการที่ระบบจัดการฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูล • สามารถเปรียบเทียบลักษณะพื้นฐานของระบบจัดการฐานข้อมูล • สามารถกำหนดปัจจัยที่สำคัญในการออกแบบฐานข้อมูล การจัดการ และโครงสร้างที่จำเป็นสำหรับระบบฐานข้อมูล • สามารถประเมินค่าแนวโน้มของระบบฐานข้อมูลแบบใหม่ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การจัดการข้อมูล • ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล • แฟ้มข้อมูลและชนิดแฟ้มข้อมูล • การประมวลผลข้อมูล • การจัดการแฟ้มข้อมูล • ระบบแฟ้มข้อมูลและปัญหาที่พบ • ฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูล • ชนิดของฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล ชนิดของข้อมูล - ข้อมูลเฉพาะ (Predefined Data items) - ข้อความ (Text) - ข้อมูลรูปภาพ (Image) - ข้อมูลที่มีรูปแบบเสียง (Audio) - วีดีโอ (Video) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล โครงสร้างข้อมูล Character Field Record File Database ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
โครงสร้างลำดับชั้นของข้อมูลโครงสร้างลำดับชั้นของข้อมูล ORGANIZING DATA IN A TRADITIONAL FILE ENVIRONMENT
เอ็นติตี้และคุณสมบัติเอ็นติตี้และคุณสมบัติ ORGANIZING DATA IN A TRADITIONAL FILE ENVIRONMENT
ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล Character ตัวอักขระ - Alphabetic ก-ฮ หรือ A-Z - Numeric 0-9 - Special Symbol ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล Field เขตข้อมูล “เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่ 1อักขระ เพื่อแสดงลักษณะหรือสื่อความหมายของข้อเท็จจริงบางอย่าง เช่น ชื่อพนักงาน วันเกิด สถานที่ทำงาน บ้านเลขที่ เป็นต้น - Alphabetic Field - Numeric Filed - Character Field / Alphanumeric Field ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล Record ระเบียน คือ “กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ภายใน 1 ระเบียนจะประกอบไปด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ 1 เขตข้อมูล ที่มีประเภทเหมือนหรือต่างกันแต่มีความสัมพันธ์กัน” ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล File แฟ้มข้อมูล คือ “กลุ่มของระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลของพนักงานจะประกอบไปด้วยระเบียนของพนักงานหลายๆ คนมารวมกัน เป็นต้น” ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
แฟ้มข้อมูล Record Record Field Field Byte Byte Bit Bit ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Field Record ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล Database ฐานข้อมูล คือ “กลุ่มของแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูกนำมารวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในบริษัทแห่งหนึ่งอาจประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูลแผนกในบริษัท แฟ้มข้อมูลขายสินค้า เป็นต้น” ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
แฟ้มข้อมูลและชนิดแฟ้มข้อมูลแฟ้มข้อมูลและชนิดแฟ้มข้อมูล • Program File • Data File Master File แฟ้มที่จัดเก็บข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง (Permanent Data) Transaction File แฟ้มที่จัดเก็บข้อมูลเพียงชั่วคราว เป็นข้อมูลที่มีการ เปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา จะเป็นข้อมูลที่นำไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลัก ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
- Online Processing - Batch Processing • เป็นการประมวลผลแบบ “Real-time Processing” เป็นการปรับปรุงข้อมูลจากรายการเปลี่ยนแปลง ที่แฟ้มข้อมูลหลักทันที • ข้อดี : ข้อมูลมีความทันสมัยตลอดเวลา • ข้อเสีย : มีความเสี่ยงต่อการผิดพลาดของข้อมูลสูง และ ต้องมีระบบที่ดูแลเรื่องความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพสูง • เป็นการประมวลผลในลักษณะที่จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ช่วงเวลาหนึ่งก่อนทำการปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลัก • ข้อดี : ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือและค่าใช้จ่ายในการดูแลต่ำ • ข้อเสีย : ข้อมูลไม่มีการอัพเดททันที การประมวลผลข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การจัดการแฟ้มข้อมูล • Sequential File Organization • Direct File Organization • Indexed-Sequential File Organization ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลแบบตามลำดับ (Squential file organization) เป็นลักษณะการจัดข้อมูลรายการจะเรียงตามฟิลด์ที่กำหนด (Key field) เช่น เรียงจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย หรือเรียงตามตัวอักษรโดยส่วนมากมักจะใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อในการเก็บข้อมูล
การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลแบบตรงหรือแบบสุ่ม(Director random file organization) โดยส่วนมากจะใช้จานแม่เหล็ก (Harddisk) เป็นหน่วยเก็บข้อมูล การบันทึกหรือการเรียกข้อมูลขึ้นมาสามารถเรียกได้โดยตรง การค้นหาจะกำหนดดัชนี (Index) จากนั้นจะวิ่งไปหาข้อมูลที่ต้องการ
การจัดการแฟ้มข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
สภาพแวดล้อมของระบบแฟ้มข้อมูลแบบเก่าสภาพแวดล้อมของระบบแฟ้มข้อมูลแบบเก่า ORGANIZING DATA IN A TRADITIONAL FILE ENVIRONMENT
ระบบแฟ้มข้อมูลและปัญหาที่พบระบบแฟ้มข้อมูลและปัญหาที่พบ ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล • การซ้ำซ้อน และการสับสนของข้อมูล (Data redundancy and confusion) • ข้อมูลและโปรแกรมขึ้นต่อกัน(Program-data dependence) • ขาดความยืดหยุ่น(Lack of flexibility) • ขาดความปลอดภัยของข้อมูล (Poor security) • ข้อมูลขาดความสะดวกในการใช้และการแบ่งปันกัน (Lack of data sharing and availability) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบแฟ้มข้อมูลและปัญหาที่พบระบบแฟ้มข้อมูลและปัญหาที่พบ แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลพนักงานขาย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบแฟ้มข้อมูลและปัญหาที่พบระบบแฟ้มข้อมูลและปัญหาที่พบ แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลพนักงานขาย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ฝ่ายบุคคล ฐานข้อมูล (Database) ระบบจัดการ ฐานข้อมูล ฝ่ายคลังสินค้า แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลคลังสินค้า แฟ้มข้อมูลพนักงานขาย แฟ้มข้อมูลลูกค้า ฝ่ายการตลาด ฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูลฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูล THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT
องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูลองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล • Database • Hardware • Software • User • Application Programmer • End User • Database Administrator ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูลฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูล ข้อดีของการใช้ฐานข้อมูล • สามารถลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล • สามารถหลีกเลี่ยงความไม่สอดคล้องของข้อมูล • สามารถกำหนดให้ข้อมูลมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • สามารถกำหนดระบบความปลอดให้กับข้อมูล • สามารถรักษาความถูกต้องของข้อมูลได้ • สามารถตอบสนองต่อความต้องการใช้ข้อมูลได้หลายรูปแบบ • ข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐานข้อมูลสามารถนำเสนอได้ง่าย • ลดเวลาในการพัฒนาโปรแกรมสำหรับเรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล • สามารถควบคุมการเข้าถึงข้อมูลจากผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกัน • ทำให้ข้อมูลเป็นอิสระจากโปรแกรมต่างๆ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูลฐานข้อมูลและระบบฐานข้อมูล ข้อเสียของการใช้ฐานข้อมูล • การทำงานของฐานข้อมูลมีความซับซ้อนมากขึ้น • ผู้ใช้งานฐานข้อมูลจำเป็นที่จะต้องมีการฝึกอบรม • การสูญเสียข้อมูล • ค่าใช้จ่ายสูง จากราคาค่าซอฟต์แวร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เป็นฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational DBMS;RDBMS) THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT ตัวอย่างฐานข้อมูลในรูปแบบระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical DBMS) THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT ตัวอย่างคำสั่งพื้นในรูปแบบระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ชนิดของฐานข้อมูล • Hierarchical Database • Network Database • Relational Database ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบลำดับชั้นระบบจัดการฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT
นาย ข นาย ก C1 M1 A1 A1 M1 B1 ช้อน หม้อ ร่ม ร่ม หม้อ จาน 24 2 3 10 5 12 Hierarchical Database รหัสสินค้า ชื่อสินค้า จำนวน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบจัดการฐานข้อมูลแบบเครือข่ายระบบจัดการฐานข้อมูลแบบเครือข่าย THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT Network DBMS
นาย ก A1 M1 B1 ร่ม หม้อ จาน 10 5 12 Network Database นาย ค U1 ไขควง 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Relational Database ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ภาษาคำถามสำหรับระบบฐานข้อมูลภาษาคำถามสำหรับระบบฐานข้อมูล ภาษาเอสคิวแอล (Structured Query Language :SQL) คำสั่งพื้นฐาน คือคำสั่ง Select มีส่วนประกอบดังนี้ Select : ให้แสดงเขตข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการจากตารางข้อมูลข้างล่าง From : กำหนดชื่อตารางข้อมูลหรือตาราง view ซึ่งจะนำไปใช้ใน select Where : กำหนดเงื่อนไขที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อใช้ในการเลือกระเบียนจากตารางข้อมูลซึ่งอาจเป็นเงื่อนไขง่ายหรือเงื่อนไขผสมสำหรับข้อมูลจากหลายตาราง รูปแบบคำสั่งคือ Select Column_Name1,Column_Name2,… From Table_Name ตัวอย่าง Select Part_Number,Part_Description, Unit_Price From Part; 38
ผลที่ได้รับจากการใช้คำสั่ง Select THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT
การเลือกแบบมีเงื่อนไขการเลือกแบบมีเงื่อนไข เช่น จากคำสั่งข้างต้น ผู้ใช้ต้องการจะดูรายการชิ้นส่วนที่มีราคาน้อยกว่า 25 บาท สามารถออกคำสั่งได้ดังนี้ Select Part_Number,Part_Description, Unit_Price From Part Where Unit_Price < 25.0;
ผลจากการเลือกชิ้นส่วนที่มีราคาต่ำกว่า 25 บาท C THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT
ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการข้อมูลที่เป็น ชื่อ หมายเลขรหัส และที่อยู่ของบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนแต่ละชิ้น มีความสัมพันธ์ของตาราง Part ไป Join กับข้อมูลที่ต้องสัมพันธ์กับตาราง Supplier โดยเลือกส่วนเฉพาะที่ต้องการ ตัวอย่างคำสั่ง Select Part.Part_Number,Supplier.Supplier_Number, Supplier.Supplier_Name, Supplier.Supplier_Address From Part ,Supplier Where Part.Supplier_Number= Supplier.Supplier_Number; การรวมข้อมูลจากสองตารางความสัมพันธ์
ผลจากตารางความสัมพันธ์ Part และ Supplier THE DATABASE APPROACH TO DATA MANAGEMENT
ผังโครงสร้างแบบอีอาร์ (ER-Diagram) CREATING A DATABASE ENVIRONMENT
กระบวนการนอร์มอลไลซ์ (Normalization) CREATING A DATABASE ENVIRONMENT
ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Database) CREATING A DATABASE ENVIRONMENT
การบริหารระบบฐานข้อมูลการบริหารระบบฐานข้อมูล การบริหารข้อมูล (Data Administration) การวางแผนและวิธีการสร้างแบบจำลอง (Data planning and modeling methodology) การจัดการและเทคโนโลยีฐานข้อมูล (Database technology and management) ผู้ใช้ (User)
องค์ประกอบที่สำคัญสำหรับระบบจัดการฐานข้อมูลองค์ประกอบที่สำคัญสำหรับระบบจัดการฐานข้อมูล CREATING A DATABASE ENVIRONMENT
การวิเคราะห์ข้อมูลแบบหลายมิติการวิเคราะห์ข้อมูลแบบหลายมิติ DATABASE TRENDS
ส่วนประกอบของคลังข้อมูล (Data Warehouse) DATABASE TRENDS