1 / 79

การดำเนินงานพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ. ๒๕๔๐

การดำเนินงานพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ. ๒๕๔๐. โดย. นางสาวจารุณี แซ่โง้ว งานข้อมูลสารสนเทศและการประชาสัมพันธ์ สสจ.ยะลา. key concept. สิทธิที่จะรู้ (Right to Know) อิสระแห่งข่าวสาร (Freedom of Information) รัฐบาลโปร่งใส ( Transparent Government)

shaman
Download Presentation

การดำเนินงานพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ. ๒๕๔๐

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ. ๒๕๔๐ โดย นางสาวจารุณี แซ่โง้ว งานข้อมูลสารสนเทศและการประชาสัมพันธ์ สสจ.ยะลา nakorns@hotmail.com

  2. key concept สิทธิที่จะรู้ (Right to Know) อิสระแห่งข่าวสาร(Freedom of Information) รัฐบาลโปร่งใส (Transparent Government) ธรรมาภิบาล (Good Governance) nakorns@hotmail.com

  3. ธรรมาภิบาล • การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) • หลักการรับผิดชอบ สามารถอธิบายได้ (Accountability) • ตรวจสอบได้ มีความโปร่งใส (Transparency) • การบริหารโดยกฎระเบียบไม่ใช่โดยบุคคล (Government by Law not by Person) nakorns@hotmail.com

  4. สภาพการรับรู้เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการในประเทศไทยสภาพการรับรู้เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการในประเทศไทย เป็น “สิทธิ” ที่มีอยู่อย่างจำกัด เป็นข้อมูลที่ถูกกำหนดให้เป็น “ความลับ” ของราชการ ตามระเบียบรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ การบริหารราชการและการให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปเป็นไปอย่างขาดข้อมูล nakorns@hotmail.com

  5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน • มาตรา 56“บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับทราบข้อมูล หรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐฯ...... เว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารนั้น จะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือ ส่วนได้เสียอันพึงได้รับความคุ้มครองของบุคคลอื่น หรือ เป็นข้อมูลส่วนบุคคล ..” nakorns@hotmail.com MENU STOP

  6. มาตรา 57บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจงและเหตุผลจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ ฯลฯ ........ก่อนการอนุญาตหรือดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย ...............และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปประกอบการพิจารณาในเรื่องดังกล่าว nakorns@hotmail.com MENU STOP

  7. การวางแผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรม การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ การวางผังเมือง การกำหนดเขตการใช้ประโยชน์ในที่ดินและการออกกฎที่อาจมีผลกระทบต่อส่วนได้เสียสำคัญของประชาชน ให้รัฐจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่งถึงก่อนดำเนินการ nakorns@hotmail.com MENU STOP

  8. มาตรา 35“สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใด ไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว จะกระทำมิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวงประโยชน์โดยมิชอบจากข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ...... nakorns@hotmail.com MENU STOP

  9. เจตนารมณ์แห่ง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ กำหนดสิทธิได้รู้ของประชาชนให้แจ้งชัด ระบบราชการ โปร่งได้ ตรวจสอบได้ ป้องกันการทุจริต ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองสามารถคุ้มครองตนเอง &ใช้สิทธิทางเมืองได้ถูกต้อง nakorns@hotmail.com MENU STOP

  10. นโยบายรัฐบาล 18 ก.พ. 2551 ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้ รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางราชการและสื่อสาธารณะอื่นได้อย่างกว้างขวาง เป็นธรรมและรวดเร็ว nakorns@hotmail.com

  11. เจตนารมณ์ของกฎหมาย • ให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ • กำหนดข้อยกเว้นให้ชัดเจน • คุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล nakorns@hotmail.com

  12. สาระสำคัญของกฎหมาย

  13. - หลักทั่วไป - หมวด 1 : ข้อมูลข่าวสารทั่วไป & การเปิดเผย - หมวด 2 : ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย - หมวด 3 : ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล - หมวด 4 : เอกสารประวัติศาสตร์ - หมวด 5 :คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ - หมวด 6 : คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลฯ - หมวด 7 : บทกำหนดโทษ - บทเฉพาะกาล MENU STOP nakorns@hotmail.com

  14. ความหมาย ข้อมูล: ข้อเท็จจริง สิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงข่าวสาร : ข้อความที่รับ-ส่งเพื่อสื่อสารให้รู้เรื่องกัน

  15. ข้อมูลข่าวสาร - สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราว ข้อเท็จจริง - สื่อความหมายโดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่านวิธีการใดๆ - อยู่ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือแผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง - การบันทึกโดยคอมพิวเตอร์หรือวิธีที่ทำให้ สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้

  16. ของราชการ ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลที่อยู่ในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน

  17. “หน่วยงานของรัฐ” ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดีองค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของรัฐ

  18. “เจ้าหน้าที่” ผู้ซึ่งปฏิบัติงาน ให้แก่หน่วยงานของรัฐ nakorns@hotmail.com

  19. องค์กรที่ใช้อำนาจตามกฎหมาย- องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ- สภาทนายความ- แพทยสภา- คณะกรรมการควบคุมการประกอบ อาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม- เนติบัณฑิตยสภา- สภาผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

  20. สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารราชการสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารราชการ

  21. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เอกสารประวัติศาสตร์ มาตรา 7 (ลงพิมพ์ราชกิจจาฯ) มาตรา 9 (ตรวจดูได้เอง) มาตรา 26 ราชกิจจาฯ มาตรา 11 (ยื่นคำขอเฉพาะราย) มาตรา 15 ลับ ข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา 24 nakorns@hotmail.com

  22. 1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา(มาตรา 7)2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9)3) การจัดหาให้เอกชนเฉพาะราย(มาตรา 11)

  23. 1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา(มาตรา 7)(1) โครงสร้างและการจัดองค์กร (2) อำนาจหน้าที่และวิธีดำเนินงาน (3) สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร (4) กฎ มติ ค.ร.ม. ข้อบังคับ คำสั่งฯ (5) ข้อมูลข่าวสารอื่น

  24. ต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา • 1. โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน • 2. สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญและวิธีการดำเนินงาน • * เพื่อให้ประชาชนได้รู้ถึงบทบาทที่แท้จริงของแต่ละ หน่วยงาน • * รู้ถึงวิธีการหรือกระบวนการทำงาน nakorns@hotmail.com MENU STOP

  25. 3. สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารหรือคำแนะนำในการ ติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ * เป็นการเพิ่มความสะดวกแก่ประชาชน เพื่อทราบว่าจะไป ติดต่อได้ที่ใด จุดใด 4. หลักเกณฑ์ที่มีสภาพอย่างกฎมีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชน (กฎที่มีผลเฉพาะต่อเจ้าหน้าที่ในองค์กร เช่น กฎระเบียบ ขั้นตอน วิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ไม่มีผลต่อเอกชนเป็นการทั่วไปไม่ต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา) nakorns@hotmail.com MENU STOP

  26. 2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9)(1) ผลการพิจารณาที่มีผลต่อเอกชน โดยตรง (2) นโยบายและการตีความ (3) แผนงาน โครงการและงบประมาณ (4) คู่มือหรือ คำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน (5) สิ่งพิมพ์ที่มีการอ้างอิงถึงใน ราชกิจจานุเบกษา

  27. (6) สัญญาสำคัญของรัฐ- สัญญาสัมปทาน - สัญญาผูกขาดตัดตอน - สัญญาร่วมทุนกับเอกชน ในการจัดทำบริการสาธารณะ(7) มติ ค.ร.ม. มติคณะกรรมการ(8) ประกาศประกวดราคา/สอบราคา สรุปผลการจัดซี้อจัดจ้างรายเดือน

  28. มาตรา 9 ข้อมูลฯที่ต้องรวบรวมไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู 1. ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน ได้แก่ การอนุญาต อนุมัติ การวินิจฉัย การอุทธรณ์ ที่กระทำโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเช่น * คำวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร กรณีเจ้าพนักงานท้องถิ่นมีคำสั่งไม่อนุญาตคำขอ * ผลการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งไม่อนุญาตตาม พรบ. สุราฯ * คำสั่งไม่อนุญาตให้ตั้งท่าเรือ คำสั่งพักใบอนุญาต หรือ ถอนใบอนุญาตของกรมการขนส่งทางน้ำ nakorns@hotmail.com MENU STOP

  29. 2. นโยบายหรือการตีความ * นโยบายพลังงานแห่งชาติ* นโยบายตำรวจแห่งชาติ * นโยบายทุนรัฐวิสาหกิจ* นโยบายการผังเมืองแห่งชาติ * การหารือข้อกฎหมายกรณีสมาชิกสภาเทศบาล มีหุ้นส่วนใน หจก. ที่เป็นคู่สัญญากับเทศบาล * การหารือข้อกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินการตาม มติ ครม. และการจัดเก็บภาษีโรงเรือน และที่ดิน * การหารือปัญหาการบังคับใช้ พรบ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 nakorns@hotmail.com MENU STOP

  30. 3. แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจำปี ของปีที่กำลัง ดำเนินงาน * แผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ * แผนแม่บทของหน่วยงาน หรือ แผนพัฒนาด้าน ต่างๆ ของปีที่ ดำเนินการที่กำหนดไว้ในแผน 4. คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของ จนท.ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน * คู่มือการขออนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง เคลื่อนย้าย หรือ รื้อถอนอาคาร ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 * คู่มือการขอประกันตัวผู้ต้องหาในชั้นต่างๆ (ชั้นตำรวจ ชั้นศาล) nakorns@hotmail.com MENU STOP

  31. 5. สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง ถ้ามีการจัดพิมพ์เผยแพร่ไว้จำนวนพอสมควรแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องนำลงพิมพ์ในราชกิจจาฯ ทั้งหมด ลงพิมพ์แต่เพียงว่า ได้มีการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวแล้ว โดยอ้างถึงสิ่งพิมพ์ที่มีการเผยแพร่แล้วไว้ในราชกิจจาฯด้วย กฎหมายจึงกำหนดให้ต้องนำสิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงในราชกิจจาฯ ต้องนำมารวมไว้เพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ด้วยเช่น * ประกาศ คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี ฉบับที่ 42 เรื่อง มาตรฐานการบัญชี nakorns@hotmail.com MENU STOP

  32. 6. สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะในการผูกขาด ตัดตอน หรือลักษณะร่วมทุนกับเอกชนในการจัดทำบริการสาธารณะ * สัญญาสัมปทานการเดินรถประจำทาง * สัญญาสัมปทานการทำเหมืองแร่ การทำไม้ * สัญญาสัมปทานให้เอกชนเก็บขยะมูลฝอยของ กทม. และ เมืองพัทยา * สัญญาโครงการทางด่วน * สัญญาให้ผลิตสุรา * สัญญา ITV* สัญญาโครงการรถไฟ nakorns@hotmail.com MENU STOP

  33. 7. มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย และแต่งตั้งโดยมติ ค.ร.ม. 7.1 มติ คณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี เช่น * มติ กขร. * มติคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ * มติคณะกรรมการมาตรฐานสินค้า * มติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ * มติคณะกรรมการกำกับนโยบายราคากลางงานก่อสร้าง 7.2 มติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย เช่น * มติคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย * คณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็นต้น nakorns@hotmail.com MENU STOP

  34. ข้อมูลข่าวสารอื่นซึ่งหน่วยงานของรัฐ ต้องจัดให้ประชาชนตรวจดู ตามมาตรา 9(8) ประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน ( ตามแบบ สขร.1) nakorns@hotmail.com MENU STOP

  35. nakorns@hotmail.com

  36. มติคณะรัฐมนตรี 28 ธันวาคม 2547 ให้นำประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา ผลการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือน เผยแพร่ผ่าน website ของหน่วยงาน nakorns@hotmail.com MENU STOP

  37. วิธีการจัดข้อมูลไว้ให้ตรวจดู(1) จัดให้มีสถานที่(2) จัดทำดรรชนี(3) ประชาชนสามารถค้นหาได้เอง(4) คำนึงถึงความสะดวก(5) อาจเป็นห้องสมุดหรือ ห้องในหน่วยงานอื่น

  38. 1. ต้องมีสถานที่เฉพาะ สำหรับประชาชนใช้ในการตรวจดูและศึกษาโดยสะดวก ตามสมควร 2. หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดทำดัชนี ของข้อมูลข่าวสารที่มีรายละเอียดเพียงพอให้ประชาชนเข้าใจวิธีการค้นหาโดยสะดวก - หมวดหมู่ - ชื่อเรื่อง - ผู้รับผิดชอบ nakorns@hotmail.com MENU STOP

  39. 3. กำหนดระเบียบปฏิบัติเพื่อรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยหรือความปลอดภัยของหน่วยงานก็ได้ • มีเจ้าหน้าที่ให้บริการ / อำนวยความสะดวก • 5. วางหลักเกณฑ์การเรียกค่าธรรมเนียมในการขอสำเนา หรือ สำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องก็ได้ โดยต้องขอความเห็นชอบจาก กขร. ก่อน ทั้งนี้ควรคำนึงถึงผู้มีรายได้น้อย ประกอบด้วย nakorns@hotmail.com MENU STOP

  40. ประกาศฯ เรื่องการเรียกค่าธรรมเนียมขอสำเนา ขนาดกระดาษ เอ ๔ ไม่เกิน ๑ บาท ขนาดกระดาษ เอฟ ๑๔ ไม่เกิน ๑.๕๐ บาท ขนาดกระดาษ บี ๔ ไม่เกิน ๒ บาท ขนาดกระดาษ เอ ๓ ไม่เกิน ๓ บาท ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๒ ไม่เกิน ๘ บาท ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๑ ไม่เกิน ๑๕ บาท ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ ๐ ไม่เกิน ๓๐ บาท nakorns@hotmail.com MENU STOP

  41. สถานที่สะดวก nakorns@hotmail.com

  42. จัดในสถานที่ที่มีอยู่แล้วจัดในสถานที่ที่มีอยู่แล้ว ศูนย์ฯ อยู่ทางเข้า อบต. nakorns@hotmail.com

  43. มีเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกมีเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวก nakorns@hotmail.com

  44. กำหนดระเบียบเพื่อความเรียบร้อยก็ได้ แต่ต้องคำนึงถึงความสะดวกเป็นสำคัญ nakorns@hotmail.com

  45. กำหนดระเบียบได้โดยคำนึงถึงความสะดวกกำหนดระเบียบได้โดยคำนึงถึงความสะดวก nakorns@hotmail.com

  46. ป้ายบอกชัดเจน nakorns@hotmail.com

  47. ข้อมูลตามมาตรา 9 ครบถ้วน nakorns@hotmail.com

  48. ดัชนีเพื่อค้นคว้าสะดวกดัชนีเพื่อค้นคว้าสะดวก nakorns@hotmail.com

  49. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 9 ถ้ามีส่วนต้องห้ามมิให้เปิดเผยตามมาตรา 14 หรือ 15 อยู่ด้วย ให้ลบ หรือตัดทอน หรือทำโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผยข้อมูลนั้น บุคคลไม่ว่ามีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดู ขอสำเนาหรือสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องได้ โดยหน่วยงานอาจเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการนั้นได้ nakorns@hotmail.com MENU STOP

  50. 3) การจัดหาให้เอกชนเป็นการ เฉพาะราย(มาตรา 11)(1) มีการยื่นคำขอระบุข้อมูล ข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจ เข้าใจได้ตามควร (2) ต้องไม่ขอจำนวนมาก หรือ บ่อยครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

More Related