780 likes | 996 Views
18 สิงหาคม 2554. เคล็ดลับออมเงินเดือนอย่างไร ให้ได้เป็นล้าน. ดร. สุวรรณ วลัยเสถียร ประธานชมรมคนออมเงิน ____________________ บริษัท ศุภาลัย จำกัด (มหาชน) 18 สิงหาคม 2554. ชมรมคนออมเงิน ดร. สุวรรณ วลัยเสถียร www.saverclub.org E-mail : suvarn@saverclub.org สมาชิก 26,000 คน
E N D
18 สิงหาคม 2554 เคล็ดลับออมเงินเดือนอย่างไรให้ได้เป็นล้าน ดร. สุวรรณ วลัยเสถียร ประธานชมรมคนออมเงิน ____________________ บริษัท ศุภาลัย จำกัด (มหาชน) 18 สิงหาคม 2554
ชมรมคนออมเงิน ดร. สุวรรณ วลัยเสถียร www.saverclub.org E-mail : suvarn@saverclub.org สมาชิก 26,000 คน ไม่เสียค่าสมาชิก 1
ชมรมคนออมเงิน เผยแพร่ความรู้ในเชิงทรัพย์สินทางปัญญาและ IT (Information Technology) เสริมศักยภาพการแข่งขันเพิ่มรายได้ 1 ดูแลค่าใช้จ่าย ไม่สร้างหนี้สิน และแก้ไขปัญหาหนี้สิน 2 ส่งเสริม การออมเงิน มีวินัยในการออม ใช้ 80% ออม 20% 3 เผยแพร่การลงทุนให้มีผลตอบแทนดี 1) ที่ดิน บ้าน คอนโด 2) หุ้น 3) เงินฝาก พันธบัตร หุ้นกู้ กองทุน 4) ทองคำ เพชร พลอย 5) ลงทุนต่างต่างประเทศ 4 5 วางแผนภาษี ดูแลทรัพย์สิน ทำพินัยกรรม จัดการมรดก รู้เรื่องทายาท บทความใหม่ หนทางสู่ความมั่งคั่ง ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 3 และตอนจบ 2
Saver Club Advise on the importance of Intellectual Properties, Information Technology and competitiveness enhance your earnings. 1 Control spending, avoid debt and solve debt problems. 2 Promote Savings Spend 80%, save 20% and be consistent. 3 Advise members to invest safety with attractive returns in 1) land, houses, condominiums, 2) stocks, 3) bonds, mutual fund, debentures 4) gold and jewelries 5) foreign investment 4 5 Advise on tax planning, property and wealth management, will, estate planning and succession. New Articles Road to Wealth Part I, Part II, Part III and Final Episode 3
ดร. สุวรรณ วลัยเสถียร ชี้ทางออก...บอกทางรวย วันจันทร์ – ศุกร์ 16.30 – 17.00น. FM 89.5 MHz รับฟังทาง Internet ที่ www.saverclub.org เงินทองต้องดูแล วันเสาร์ 13.00 – 14.00น. FM 102 MHz รับฟังทาง Internet ที่ www.saverclub.org 6
18 สิงหาคม 2554 Natalie Portman - Oscar Winner - Harvard Graduate in Psychology - Speak 6 languages - Raise Funds for Women’s Business in Developing Countries - Not yet 30 years old 11
18 สิงหาคม 2554 คุณสมบัติของนักศึกษา Harvard 1) มุ่งมั่นในการเรียน (Work Hard While at Harvard) 2) ทุ่มเทให้ได้ปริญญา มิใช่เรียนเพื่อจบ (Earning Their Degrees, Not Just Getting Them) 3) ใกล้ชิดอาจารย์ - ขอคำปรึกษา อาจารย์และนิสิตควรเรียนรู้จาก กันและกัน (Get to Know One Professor Who Will Get to Know the Student - Learn from and with Each Other) 4) ขยันจดคำอธิบายของอาจารย์ (Don’t Stop Taking Note in Class When Professor Stop Talking) 5) คบเพื่อนดี ๆ สร้างมิตรภาพไว้ตลอดชีวิต (Make Great Friends to Last the Entire Lifetime) 6) Harvard รับนักศึกษา 1 คน ต่อผู้สมัคร 30 คน (Each Student is Admitted Out of 30 Applicants) Dean Minow welcomes incoming students September 2010 16
18 สิงหาคม 2554 ความมั่งคั่งมาจาก 1) สุขภาพดี - Exercise, Diet and Take Resting 2) จิตใจดี - เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซื่อสัตย์สุจริต 3) มีงานทำ มีรายได้จากการลงทุน Financial Independence 4) ครอบครัวดี - มีเวลาให้ลูกเมีย 5) ทำบุญกุศล 17
18 สิงหาคม 2554 “หนทางสู่ความมั่งคั่ง” 1) ขยันขันแข็ง หนักเอาเบาสู้ 2) ประหยัดอดออม คนที่สุ่รุ่ยสุร่ายไม่มีโอกาส ร่ำรวย 3) ใฝ่หาความรู้ มีความคิดริเริ่ม รู้จักหาทางออก แก้ปัญหา 4) ทำบุญกุศล มีครบทั้งสี่อย่าง ร่ำรวยแน่นอน 20
5 สิงหาคม 2554 ปรัชญาจีน 1) สุขภาพเป็นของเรา เพราะไม่มีใครขโมยจากเราได้ และถ้าเจ็บป่วยก็ต้องรักษาเอง 2) เงินทองเป็นของคนอื่น เมื่อเราตายก็มีคนอื่น มาหยิบเอาไป 3) อำนาจเป็นของชั่วคราว มีขึ้นมีลง 4) ความดีเท่านั้นที่อยู่ยงคงกระพัน แม้ตายไปแล้ว ก็จะมีคนระลึกถึง 21
18 สิงหาคม 2554 ขนมปังชิ้นที่ 3 ชิ้นที่ 1 ใช้ประทังชีวิต ชิ้นที่ 2 ให้ความสุขสบาย อิ่มท้อง ชิ้นที่ 3 คือยาพิษ เงินคือสิ่งจำเป็น ให้ได้ทั้งความสุขและความทุกข์ เงินถ้าไม่รู้จักใช้ ไม่รู้จักหา ไม่รู้จักคุณค่า...มีเท่าไหร่ก็ไม่พอ ตัน ภาสกรนที 22
18 สิงหาคม 2554 รู้จักตัวเอง – Know Yourself - คุณชอบลงทุนอะไร? - ฝากแบงค์ ทองคำ หุ้น พันธบัตร บ้าน คอนโด - ถนัดหรือมีความรู้ความชำนาญในทางไหน? - มีเงินมากน้อยเพียงใด? - จัดอันดับความเร่งด่วน Prioritization - มีคนช่วยคิด/ช่วยทำ 23
18 สิงหาคม 2554 Investing Opportunity: Property Fund กองทุนอสังหาริมทรัพย์ ความเสี่ยงต่ำ 24
18 สิงหาคม 2554 Equity Fund - Dividend 25
18 สิงหาคม 2554 Equity Fund Portfolio Analysis 26
18 สิงหาคม 2554 จัดสรรเงินออม 1) ใช้ให้น้อยกว่าที่หาเงินได้ - ทุกเดือน 2) เงินเดือน, รายได้ประจำ ออม 20 ใช้ 80 3) รายได้พิเศษ, โบนัส ใช้ 20 ออม 80 4) เก็บเงินออมในที่ปลอดภัย 27
18 สิงหาคม 2554 รู้จักตัวเอง – Know Yourself - คุณชอบลงทุนอะไร? - ถนัดหรือมีความรู้ความชำนาญในทางไหน? - มีเงินมากน้อยเพียงใด? - จัดอันดับความเร่งด่วน Prioritization - มีคนช่วยคิด/ช่วยทำ 28
18 สิงหาคม 2554 มนุษย์เงินเดือน 1) รายได้คงที่ - ต้องออมเงินทุกเดือน 2) จัดสรรเงินโบนัส 3) ทุ่มเทการทำงานเพื่อความก้าวหน้า 4) เรียนรู้ 3 ภาษา 5) ช่วยลดค่าใช้จ่ายขององค์กร 6) ปรับตัวให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลง 29
18 สิงหาคม 2554 วางแผนการเงินและภาษีตั้งแต่ต้นปี (1) 1) ปีนี้มีรายได้มากน้อยเท่าใด 2) หักรายจ่ายแล้วออมได้เท่าใด 3) ออมอย่างมีวินัย 4) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ - หักภาษีได้ 15%ของรายได้ ปีหนึ่งไม่เกิน 1 ล้านบาท พนักงาน + นายจ้างฝ่ายละ 500,000 บาท 5) เลือกลงทุนได้แบบEmployee Choice 30
18 สิงหาคม 2554 วางแผนการเงินและภาษีตั้งแต่ต้นปี (2) 6) กองทุน RMF(Retirement Mutual Fund - กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ)และ LTF (Long Term Equity Fund - กองทุนหุ้นระยะยาว) เพื่อลดหย่อนภาษี 7) ประกันชีวิต 8) รายจ่าย ผ่อนบ้าน ผ่อนรถ 9) การหักภาษีของลูกกตัญญู บิดามารดา อายุ 60 ปี รายได้ไม่เกิน 30,000 31
18 สิงหาคม 2554 วางแผนการเงินและภาษีตั้งแต่ต้นปี (3) 10) ใช้เครดิตภาษีให้เต็มที่ ขอคืนภาษี 15%ของ ดอกเบี้ย หากมีรายได้ไม่เกิน 760,000 บาทต่อปี 11) เงินบริจาคใบเสร็จรับเงินลงวันที่ในปี 2554 12) เก็บรักษาเอกสารหลักฐาน Soft File หรือ Hard Copy 32
18 สิงหาคม 2554 ปรัชญาแห่งชีวิต - ตั้งใจว่า 1) ต้องไม่เป็นคนจน 2) เพิ่มพูนปัญญาความรู้ 3) สร้างความมั่นคงทางการเงินให้ครอบครัว 4) สุขภาพดี มีความมั่งคั่ง 5) เป็นคนดีของสังคม 33
18 สิงหาคม 2554 Reaching Target- บรรลุเป้าหมาย 1)ตั้งงบไว้เท่าใด - 5 ล้านบาท ลงทุน ดอกเบี้ย / ผลตอบแทน 5% ปีละ 250,000 / เดือนละ 21,000 บาท - ไม่มีหนี้ - จ่ายหนี้ผ่อนบ้านให้หมดโดยเร็ว - อยู่อย่างพอเพียง - หาอาชีพเสริม 34
18 สิงหาคม 2554 Reaching Target- บรรลุเป้าหมาย 2) How to? - บรรลุเป้าหมาย - เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย รู้จักลงทุน 3) How long? - ใช้เวลา 20 ปีขึ้นไป 4)หาตัวช่วย เสริมรายได้ ฉลาดลงทุน ลดความเสี่ยง 5)บุญกุศลช่วยท่านได้ 35
18 สิงหาคม 2554 สร้างความมั่งคั่ง (Wealth Creation)การวางแผนการเงิน 1)เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส 2)กำไรจากกิจการ เช่น SME หรือการขายตรง 3)ดอกเบี้ย / เงินปันผล 4)ผลได้จากการลงทุน การลงแรง การลงทุน 36
18 สิงหาคม 2554 เป้าหมายการเงิน 1) เป้าหมายการออม 2) กำหนดค่าใช้จ่าย 3) ประหยัด - เก็บออม 4) จ่ายคุ้มค่า 5) ใช้เท่าที่มี 6) ค่าใช้จ่ายที่นึกไม่ถึง 7) อย่าก่อหนี้จนเกินกำลัง 37
18 สิงหาคม 2554 รากฐานที่มั่นคง 1. รู้ฐานะการเงิน ทรัพย์สิน/หนี้สิน 2. รู้แบบการใช้ชีวิต เงินออม เงินลงทุน เงินเฟ้อ 3. ต้องเตรียมเงินเท่าใด? วางแผนหรือยัง 4. สุขภาพ และการศึกษา - ของตนเอง - ของลูก 38
18 สิงหาคม 2554 ตรวจสุขภาพการเงิน (1) 1) ออมได้เดือนละเท่าใด 2) ในครอบครัวมีตัวช่วยหรือตัวถ่วง? 3) รายได้จากการลงทุน 4) ดอกเบี้ย - หุ้นกู้ภาคเอกชนปลอดภัยไหม? - อัตราผลตอบแทน 5+% - ขอคืนภาษี 15% คุ้มไหม? - รายได้ไม่เกินปีละ 760,000 บาท 39
18 สิงหาคม 2554 ตรวจสุขภาพการเงิน (2) 5) ข้อดีของดอกเบี้ย - ไม่ต้องลงแรง 6) เงินปันผล - ผลตอบแทนอาจดีกว่าดอกเบี้ย แต่ราคาหุ้นผันผวน 7) หุ้นบางบริษัทให้เงินปันผลมากกว่าดอกเบี้ย 8) การใช้เครดิตภาษี ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 10%ของเงินปันผล 9) ใช้เครดิตภาษีของบริษัทแต่ต้องบวกเครดิตภาษีเป็น รายได้ก่อน 40
18 สิงหาคม 2554 ตรวจสุขภาพการเงิน (3) 1) ระวังเรื่องตกงาน 2) ปรับเปลี่ยนการใช้เงิน 3) ถนอมเงินที่ได้มา 4) ลงทุนด้วยความระมัดระวัง 5) ระวังเรื่องความโลภ 41
18 สิงหาคม 2554 วิธีประหยัดเงิน 1) อย่าเล่นการพนัน 2) ใช้ให้น้อยกว่าที่หาได้ทุกเดือน 3) ต้องการเก็บเงินเดือนละ 2,000 บาท เงินเดือน 10,000 บาท วันที่เงินเดือนออก เอา 2,000 บาท ฝากแบงก์ทันที ที่เหลือ 8,000 บาท ใช้ให้พอในเดือนนั้น 4) ทำต่อเนื่องทุกเดือนอย่างมีวินัย 5) ภริยาและสามีช่วยกันประหยัด 6) ระวังหนี้สินบัตรเครดิต ควรมีบัตรเครดิตใบเดียว 42
18 สิงหาคม 2554 การขจัดหนี้(1) 1) มุ่งมั่นใช้หนี้ 2) ตีกรอบการใช้บัตรเครดิต 3) บอกลาหนี้นอกระบบ 4) ปฏิเสธหนี้ที่มาทางโทรศัพท์ 5) อยู่ห่างจากชีวิตเงินผ่อน 6) ใช้บัตรเครดิตใบเดียว 43
18 สิงหาคม 2554 การขจัดหนี้(2) 7) ใจแข็งเมื่อถูกยืมเงิน 8) เลือกจ่ายหนี้ดอกเบี้ยสูง ๆ ก่อน 9) อย่าค้ำประกันส่วนตัว 10) ปรึกษาผู้รู้เมื่อถูกเอาเปรียบ 11) เก็บหลักฐานหนี้สิน 12) เจรจาต่อรองเพื่อลดหนี้ 44
18 สิงหาคม 2554 วิธีเจรจาต่อรอง 1) ตรวจดูหลักฐานแห่งหนี้ 2) พักการชำระหนี้ 3) กองเงินไว้หน้าตัก 4) เจรจาให้ลดหนี้ – ตัดดอกเบี้ย - ผ่อนยาว 5) ขอให้ศาลไกล่เกลี่ย 6) ทางออกสุดท้าย ล้มละลาย 45
18 สิงหาคม 2554 เมื่อปลดหนี้แล้ว 1) ระวังหนี้หวนกลับ 2) ตั้งใจไม่เป็นหนี้อีก 3) ศูนย์ข้อมูลเครดิต – Credit Bureau 4) สอนคนรอบข้าง – ลูก เมีย 46
18 สิงหาคม 2554 ข้อควรคำนึงวางแผนการเงิน (1/5) รายละเอียดของทรัพย์สิน เช่น การออกคำสั่งถอนเงินจากธนาคาร คำสั่งซื้อขายหุ้น กุญแจตู้นิรภัย 1) ทรัพย์สินอยู่ที่ใคร เอกสารสำคัญ เช่น โฉนดที่ดิน, กรมธรรม์ บัญชีธนาคาร ใบหุ้น พันธบัตร ทองคำ เพชรพลอย 2) ใครเป็นผู้มีอำนาจจัดการ 47
18 สิงหาคม 2554 ข้อควรคำนึงวางแผนการเงิน (2/5) 3) ดูแลแผนการลงทุนให้ทันสมัย หุ้น อสังหาริมทรัพย์ ทองคำ กองทุน ฝากธนาคาร หุ้นกู้ พันธบัตร ลงทุนต่างประเทศ 4) ปรับเปลี่ยนแผนการลงทุน ตามอายุ สภาพเศรษฐกิจ และการเงิน 48
18 สิงหาคม 2554 ข้อควรคำนึงวางแผนการเงิน (3/5) 5) ดูแลกระแสเงินสด (Cash Flow) อย่าลืม Cash is No. 1 มีเงินสด ซื้ออะไรก็ได้ ไม่ด้อยค่า 6) ต้องมีเงินสดสำรอง ใช้ได้ 6-12 เดือน หรือมีทรัพย์สินสภาพคล่อง เช่น ทองคำ หุ้นที่ซื้อขายง่าย เช่น BBL, PTT 49