110 likes | 403 Views
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม. พวงชมพู โชตินุชิต 8-10 กุมภาพันธ์ 2554. ที่มาของการวัดผลโดยตัวชี้วัด. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( RBM ) RESULTS BASED MANAGEMENT.
E N D
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ หน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
ที่มาของการวัดผลโดยตัวชี้วัดที่มาของการวัดผลโดยตัวชี้วัด การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM )RESULTSBASEDMANAGEMENT วิธีการบริหารจัดการ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์หรือผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (SPBB) STRATEGIC PERFORMANCE BASED BUDGETING วิธีการบริหารงบประมาณ มุ่งเน้นความเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์ ผลผลิต ซึ่งเป็นผลงาน ที่ต้องการ โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัด เพื่อวัดประสิทธิภาพ (ผลผลิต) และประสิทธิผล (ผลลัพธ์) ของผลงานที่เกิดขึ้นจากการใช้งบประมาณ การจัดทำคำรับรองและประเมินผลการปฏิบัติราชการ วิธีการบริหารราชการ มุ่งเน้นการพัฒนาการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัด ภายใต้มิติ 4 มิติตามกรอบ BSC และจะได้รับสิ่งจูงใจ ตอบแทนตามระดับของผลงานตามที่ตกลงกันไว้ พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผล/ประเมินผลแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผล/ประเมินผล จากเครื่องมือในการควบคุมสู่เครื่องมือในการบริหาร ถ้าไม่สามารถวัด ก็ไม่สามารถบริหาร - (If you can’t measure, you can’t managed) ถ้าไม่สามารถวัด ก็ไม่สามารถพัฒนา - (If you can’t measure, you can’t improved) อะไรที่วัด สิ่งนั้นคนจะให้ความสนใจ - (What gets measure, gets done) วัดหรือประเมินเฉพาะสิ่งที่มีความสำคัญเท่านั้น - (Key Performance Indicators) พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
การจัดทำระบบการวัดผล/ประเมินผลอย่างครบวงจรการจัดทำระบบการวัดผล/ประเมินผลอย่างครบวงจร ระดับที่ต้องวัดผล สิ่งที่ได้รับ สิ่งที่ต้องวัดผล แผนยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ ระดับองค์กร Corporate Scorecard งบประมาณ ระดับหน่วยงาน Strategic Business Unit Scorecard (SBU) โบนัส ผลการปฏิบัติราชการ ระดับสำนัก/กอง ขั้น เงินเดือน ผลการปฏิบัติราชการ รายบุคคล ระดับบุคคล Individual Scorecard พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
การแปลงระบบการประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคลการแปลงระบบการประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับองค์กร ระดับองค์กร บทบาท หน้าที่และภารกิจของ สำนัก/กอง ตามแผนยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ระดับสำนัก/กอง ระดับ หน่วยงาน ตัวชี้วัด ระดับ สำนัก/กอง บทบาท หน้าที่ของสำนัก/กอง ตามโครงสร้าง บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชา เป้าประสงค์ ระดับบุคคล ตัวชี้วัด ระดับ บุคคล บทบาท หน้าที่งานของบุคคล ตามJob Description ระดับบุคคล งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรม วิเคราะห์บทบาท หน้าที่และภารกิจของสำนัก/กอง ที่ต้องดำเนินการ ตามแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์บทบาท หน้าที่และภารกิจของสำนัก/กอง ที่ต้องดำเนินการ ตามโครงสร้าง กำหนดเป้าประสงค์ของสำนัก/กอง ตามบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบ กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ โดยถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร สู่ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน ทบทวน ยืนยันตัวชี้วัดร่วมกัน และร่วมกำหนดค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้ค่าคะแนนตัวชี้วัดแต่ละตัว ประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนัก/กองตามตัวชี้วัดที่กำหนด แจกรางวัล พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
ประโยชน์ของการแปลงระบบการประเมินผลจากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงานประโยชน์ของการแปลงระบบการประเมินผลจากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน เพื่อทำให้ทุกคนในองค์กรเข้าใจ และมุ่งเน้น ยุทธศาสตร์ร่วมกัน เพื่อให้เกิดสำนึกและภาระหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันในยุทธศาสตร์ขององค์กร เพื่อเป็นการจูงใจให้ทุกคนดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และบทบาทหน้าที่ที่กำหนด เพื่อให้มีระบบการประเมินผลที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์และสอดคล้องกันทุกระดับ เพื่อการพัฒนาองค์กร ไม่ใช่การจับผิด พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
การประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมปี 2554 ประเมินศาลดีเด่น ประเมินโบนัส ด้าน ธุรการ ศาล ด้านคดี ด้านการไกล่เกลี่ย พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล (น้ำหนัก : ร้อยละ…) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ…) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ ...) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ (น้ำหนัก : ร้อยละ ...) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลา การให้บริการ การประหยัดงบประมาณ คุณภาพการให้บริการ การมีส่วนร่วมของประชาชน ผลสำเร็จตาม แผนปฏิบัติการ ประโยชน์ที่เกิดจากการดำเนิน งาน/โครงการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การพัฒนากฎหมาย การบริหารจัดการองค์กร การประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมปี 2554 พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554
การประเมินผลการปฏิบัติราชการหน่วยงานในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมปี 2554 พวงชมพู โชตินุชิต 8-10กุมภาพันธ์ 2554