1 / 39

เครือข่าย

เครือข่าย. การเรียนรู้. การจัดการ. เอกเทศ. เครือข่าย. กลไก (mechanic). องคาพยพ (organism). แยกเรื่อง แยกประเด็น. บูรณาการ (integrated). ต่างคนต่างทำ. ผนึกพลัง ( synergy). แยกส่วน (reductionist). องค์รวม (holistic). ไร้ระเบียบ (chaotic). ระบบ (system).

shania
Download Presentation

เครือข่าย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครือข่าย การเรียนรู้ การจัดการ

  2. เอกเทศ เครือข่าย กลไก (mechanic) องคาพยพ (organism) แยกเรื่อง แยกประเด็น บูรณาการ (integrated) ต่างคนต่างทำ ผนึกพลัง (synergy) แยกส่วน (reductionist) องค์รวม (holistic) ไร้ระเบียบ (chaotic) ระบบ(system) ปัจเจก (individual) ชุมชน (community) เดี่ยว ๆ โดดๆ(single) คลัสเตอร์ ( cluster)

  3. วิธีให้คุณค่า วิธีปฏิบัติ กระบวนทัศน์ วิธีคิด การมองโลกความเป็นจริง แบบหนึ่ง

  4. ผู้ให้ พันธมิตร หุ้นส่วน/ภาคี ผู้รับ

  5. Donor Partnership Recipient

  6. แบบเจ้าแบบนาย เครือข่าย เครือข่าย : วัฒนธรรมองค์กรของสังคมยุคใหม่

  7. Hierarchical Networking เครือข่าย : วัฒนธรรมองค์กรของสังคมยุคใหม่

  8. “เครือข่าย” ในโลกธุรกิจ ผู้จัดการบริษัทในยุค “ซี” (ลำดับขั้น- hierarchical) ปกครองโดยใช้อำนาจสั่งการ ใช้กฎบังคับพนักงาน ควบคุมเหมือนเป็นเด็ก “การควบคุม” (control) คือ หัวใจของการบริหารแบบเก่าหรือ “แบบเจ้านาย ลูกน้อง” (hierarchical) “การสร้างเสริมศักยภาพ” (empowerment) คือ หัวใจของการบริหารแบบใหม่ หรือการสร้างเครือข่าย (networking) ผู้นำยุคใหม่ มีอำนาจเหนือผู้อื่นโดยไม่ต้องใช้อำนาจ ไม่ต้องบังคับ ตรวจสอบ แบบเจ้านายเน้นการสร้างความสัมพันธ์ ให้เกียรติ อำนาจผู้นำยุคใหม่นำด้วยบารมี บารมีผู้นำยุคใหม่มาจากการเป็นผู้ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างบรรยากาศการทำงานที่ดี เป็น “โค้ช”

  9. ปัจจัยบวกต่อเครือข่ายปัจจัยบวกต่อเครือข่าย “วัฒนธรรมเครือข่าย” จัดความสัมพันธ์แนวราบ เคารพให้เกียรติกัน ไม่ใช่จัดองค์กรแบบเจ้านาย หัวหน้าลูกน้อง แต่เป็น “พี่เป็นน้อง” สัมพันธ์กันด้วยใจ ด้วยจิตวิญญาณ ไม่ใช่ด้วยผลประโยชน์ •มีการพบปะ ไปมาหาสู่ สื่อสารกันเป็นประจำ •มีเป้าหมายชัดเจนร่วมกันทุกฝ่าย เช่น การพึ่งตนเอง •มีแผนงานและ กิจกรรมร่วมกัน เช่น วิสาหกิจชุมชน •มีกลุ่มแกนนำ ทำหน้าที่นำและประสานด้วยความมุ่งมั่น •ร่วมมือ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ไม่ใช่แข่งขันกัน

  10. เครือข่ายองค์กรชุมชน •แบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ ความคิด แนวทาง วิธีการแก้ปัญหาทักษะความชำนาญ ทรัพยากร ผลผลิต เครื่องมือ • ร่วมกันคิด ร่วมกันทำกิจกรรมต่อเนื่องสม่ำเสมอ บางอย่างเป็น ครั้งคราว บางอย่างลงทุนลงแรงลงขันร่วมกัน •ช่วยกันแก้ไขปัญหา ให้กำลังใจ รวมพลังสามัคคี • สร้างระบบการผลิต การจัดการ การตลาด แลกเปลี่ยนสินค้า พัฒนาวิสาหกิจ และระบบเศรษฐกิจรากหญ้า

  11. เครือข่ายในงานพัฒนา เครือข่าย คือ กลุ่มบุคคล หรือกลุ่มองค์กรที่สมัครใจสื่อสารสัมพันธ์กัน หรือดำเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน โดยไม่ทำให้แต่ละคนหรือแต่ละองค์กรสูญเสียความเป็นอิสระ • แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ สื่อ อุปกรณ์ • การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสานงานทำให้ไม่ทำงาน ซ้ำซ้อน ทำงานเร็วขึ้น มีผลกระทบวงกว้างขึ้น • เครือข่ายเชื่อมคนต่างระดับ ต่างภูมิหลัง ต่างองค์กร ซึ่งหากไม่มี เครือข่ายก็จะไม่มีโอกาสได้ปฏิสัมพันธ์กัน (คนทำงานนโยบาย ผู้บริหาร ชาวนา เอ็นจีโอ นักวิจัย อาจารย์ ข้าราชการ) •ช่วยให้คนร่วมมือ ให้กำลังใจ ช่วยเหลือกัน ประสานพลังเป็นหนึ่งใน การดำเนินงานจนบรรลุเป้าหมายร่วมกัน

  12. ข้อจำกัด ปัญหา อุปสรรคเครือข่าย •ขาดเป้าหมายและจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนร่วมกัน •ความแตกต่างระหว่างสมาชิก ทำให้การประชุม การทำงานร่วมกัน ลำบาก เพราะมีบางคน บางองค์กรข่มคนอื่น ทำให้วงแตก •รวมศูนย์ กลายเป็นองค์กร สถาบันคล้ายราชการ แข็งตัว •ปัญหาการสื่อสาร การไปมาหาสู่ ความไม่สม่ำเสมอ ไม่ต่อเนื่อง •สมาชิกแข่งขันกัน แทนที่จะร่วมมือ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน •ขาดปัจจัยในการดำเนินงาน การจัดประชุม การประสานงาน •การชี้นำและครอบงำขององค์กรภายนอกที่ควรทำหน้าที่ประสาน สนับสนุน ไม่ว่าด้านทุนหรือวิชาการ

  13. บทบาทของคน/องค์กรจากนอกชุมชนบทบาทของคน/องค์กรจากนอกชุมชน ๑. ผู้เชื่อมประสานให้เกิดกระบวนการ (facilitator) สร้างการเรียนรู้ ๒. ผู้เชื่อมประสานให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (catalyst) สร้างนวัตกรรม ๓. ผู้เชื่อมประสานให้เกิดเครือข่าย (networker) สร้างประชาสังคม

  14. บทบาทของหน่วยงานที่อยากทำงานเครือข่ายบทบาทของหน่วยงานที่อยากทำงานเครือข่าย •เปลี่ยนจากคน “ทำโครงการ” มาเป็นตัวเชื่อม ประสาน เกื้อกระบวนการ สนับสนุนกระบวนการสู่การพึ่งตนเอง •เปลี่ยนจากผู้นำโครงการไปให้ ทุนไปให้ ข้าวของไปให้ มา ส่งเสริมการเรียนรู้สู่การพัฒนายั่งยืน •เปลี่ยนจากคนจัดการโครงการ มาจัดการความรู้ ประสาน กระบวนการเรียนรู้ จัดเวทีการเรียนรู้ ร่วมสรุปบทเรียน สังเคราะห์ความรู้

  15. “สู้ด้วยยุทธศาสตร์ รบด้วยปัญญา ชนะด้วยความรู้” (สุรชาติ บำรุงสุข : ซุนหวู่ )

  16. 3 ขั้นของการพัฒนายั่งยืน หลุดพ้นจากวงจรอุบาทว์ (survive) รอด (หนี้) พอเพียง (ระบบ) เข้มแข็งด้วยระบบเศรษฐกิจท้องถิ่นที่ พึ่งตนเอง (sufficient) ยั่งยืน (เครือข่าย) มั่นคง ยืนหยัดได้ในโลกาภิวัตน์ โลกแห่งการแข่งขัน (sustainable)

  17. ธุรกิจ พัฒนา ผลิตภัณฑ์ ชุมชน เครือข่าย พอเพียง ครอบครัว พึ่งตัวเอง

  18. เศรษฐกิจพอเพียง Trade ธุรกิจ ตลาดไร้พรมแดน แข่งขัน Pyramid of Life Cooperatives สหกรณ์ อำเภอ จังหวัด เครือข่าย พึ่งพาอาศัยกัน ฐานชีวิต Sufficiency หมู่บ้าน ตำบล วิสาหกิจชุมชน พึ่งตนเอง

  19. ธนาคารควาย ธนาคารข้าว ปลูกพืช แปรรูปอาหาร ร้านค้าชุมชน กล้วยฉาบ เลี้ยงไก่ สมุนไพร แชมพู เลี้ยงหมู เลี้ยงปลา กลุ่มออมทรัพย์ เลี้ยงกุ้ง OTOP กองทุนหมู่บ้าน ๑ ล้านบาท กองทุนต่าง ๆ

  20. บ้านน้ำหิน อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ตัวอย่างการพึ่งตนเองระดับชุมชน สมุนไพร เลี้ยงปลา เกษตร อินทรีย์ อาหารสัตว์ หมู ไก่พื้นบ้าน ปั้นหม้อ พันธุ์ไม้ ผักปลอดสาร เลี้ยงโค กระบือ โรงสีเล็ก ทอผ้ากี่มือ ทำอิฐ โรงสีมือหมุน เพาะเห็ด แชมพู สบู่ น้ำยาล้างจาน ออมทรัพย์ ปุ๋ยชีวภาพ หัตถกรรม ร้านค้า

  21. การสื่อสารคือการพัฒนาการสื่อสารคือการพัฒนา Communication is Development สร้างเครือข่าย คือ สร้างชุมชนเข้มแข็ง Networking is Community Empowerment

  22. “ผมสู้มาตลอดชีวิต สรุปได้อย่างหนึ่งว่า คนเราจริงๆ แล้วไม่กลัวตายเท่าไหร่ ไม่เช่นนั้นคงไม่มีใครกล้าเสี่ยงกับความตายในทุกรูปแบบอย่างในปัจจุบัน ผมว่าคนกลัวความโดดเดี่ยว ความเหงา การถูกทอดทิ้ง ถูกดูหมิ่นและถูกรังเกียจมากกว่า” “ที่สุดของนักเลงบ้านทุ่ง - บันทึกของกิตติ”บันทึกเพื่อนชีวิตใหม่

  23. ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ PR&D1 Enhancing Care Initiative ECI Thai Team เกิดเครือข่าย การพึ่งกันและกันระหว่างชุมชน เกิดการริเริ่มการพึ่งตนเองของชุมชน เกิดการปรับเปลี่ยน “ฐานคิด” เกิดการค้นพบตนเองของชุมชน

  24. สังคมไทยในอดีตอยู่ได้เพราะ “ภูมิปัญญา” ทำมาหากิน เศรษฐกิจยังชีพ แลกเปลี่ยนข้าวของ เศรษฐกิจคุณธรรม พึ่งพาอาศัยกัน เศรษฐกิจพอเพียง พึ่งพาอาศัยธรรมชาติ ภูมิปัญญาบูรณาการ “เวลา ที่ ผี ขวัญ” ความสัมพันธ์สมดุล รากฐานแห่งวิถีชุมชน

  25. “สังคมไทยอ่อนแอทางปัญญา มีความรู้น้อย ใช้ระบบอำนาจเป็นใหญ่เนื่องจากขาดความรู้ เช่น ระบบราชการ คือ ตัวแทนขององค์กรเชิงอำนาจ มีแต่เน้นกฎหมาย ระเบียบ การสั่งการและ การควบคุม ซึ่งถือว่าเป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงจุด เพราะสังคมไทยปัจจุบันมีปัญหาที่ซับซ้อน และยากต่อการแก้ไขมากขึ้น” (ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ๒๕ พ.ย. ๔๕)

  26. ทุนทางปัญญา “ปัจจัยที่ทำให้องค์กรต่างๆ ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับคุณภาพของบุคลากรเป็นสำคัญ รวมตลอดถึงภาพลักษณ์และชื่อเสียงขององค์กร ซึ่งมีลักษณะเป็นสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ แต่มีมูลค่ามากกว่าสินทรัพย์ประเภทที่มองเห็นได้เสียอีก (เช่น ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร ฯลฯ) สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้เหล่านี้ คือ ทุนทางปัญญา(intellectual capital)เพราะสิ่งที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จในยุคนี้ล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นจากภูมิปัญญาของบุคลากรหรือเกิดจากทุนมนุษย์(human capital)จากการศึกษาวิจัยของนักวิชาการต่างประเทศพบว่ามูลค่าขององค์กรมากกว่าร้อยละ 85 มาจากสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ภายในองค์กร คือทุนทางปัญญานั่นเองที่ผลักดันให้ก้าวไปสู่ความสำเร็จมากที่สุด” ผู้จัดการออนไลน์ 24 กันยายน 2546

  27. “ญี่ปุ่นจะเน้นในเรื่องการพัฒนาคนมากกว่า เราสร้างคนซึ่งใช้เวลากว่า 20 ปี แต่ของไทย จะเน้นเรื่องสินค้า ซึ่งใช้เวลา 3 ปี” “คนไทยต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติใหม่เพื่อพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น คือ ต้องพัฒนาบุคลากร บริการและสินค้า ควบคู่กันไป” (นายทะคะชิ อันโดะ ผอ. OVOP เมืองโออิตะ)

  28. ความสัมพันธ์ การจัดการ การพึ่งตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง การเรียนรู้

  29. ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งตนเองชุมชนเข้มแข็งและพึ่งตนเอง • เป็นชุมชนเรียนรู้ (learningcommunity) • ตัดสินใจได้อย่างเป็นอิสระ • จัดการ “ทุน”ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ • มีธรรมาภิบาลในการจัดการองค์กรชุมชน และมี • เครือข่ายกับชุมชนอื่นแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกัน

  30. ข้าว โรงสี ปลายข้าว/รำ เหล้า ขนม แกลบ อ้อย/มัน อาหารสัตว์ ปลาร้า ไก่ หมู ปั้นอิฐ/หม้อ แก๊สชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ ปลา น้ำปลา เขียงหมู ผงนัว ของใช้ ผัก ไม้ผล สมุนไพร ยาสมุนไพร ผักผลไม้แปรรูป น้ำผลไม้/ไวน์ พันธุ์ไม้

  31. ระดับ และ ขั้นตอนการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน ลักษณะ การจัดการ พึ่งตนเอง พอเพียง ก้าวหน้า -ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ สมุนไพรไว้กินใช้เอง -หมักน้ำปลากินเอง -ทำยาสระผมใช้เอง - เกษตรผสมผสาน - พืชสัตว์เศรษฐกิจ - อุตสาหกรรมในครัวเรือน ฝีมือ - นวด สมุนไพร ดูแลสุขภาพ - ท่องเที่ยว โฮมสเตย์ ครอบครัว ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ออม ดูแลสุขภาพ แผนชีวิต ชุมชน และ เครือข่าย -โรงงานน้ำปลา -โรงสีข้าวชุมชน -โรงงานปุ๋ยชีวภาพ -โรงงานอาหารสัตว์ - กลุ่มออมทรัพย์ - โรงงานแปรรูปยาง แป้งขนมจีน - โรงสีข้าวชาวนา ข้าวอินทรีย์ - โรงงานอาหารสัตว์ ปุ๋ยชีวภาพ - ท่องเที่ยวนิเวศ โฮม-ลองสเตย์ - นวด สมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ - ธนาคารชุมชน (ระดับเครือข่าย) ระบบวิสาหกิจชุมชน ระบบออม-ทุน ระบบสวัสดิการ ระบบสุขภาพชุมชน ระบบสิ่งแวดล้อม ข้อมูล - ความรู้ - แผนแม่บทชุมชน

  32. “การรวมตัวกันต่อเนื่องเป็นตัวชี้วัดความเข้มแข็งของชุมชน ทำให้มั่นใจว่าเราแก้ปัญหาในหมู่บ้านได้ ที่เกินกำลังค่อยบอกข้างนอกมาช่วย พูดง่ายๆ ทำตอบอยู่ที่หนองกลางดง ไม่ได้อยู่ที่แหล่งงบประมาณ เงินเป็นเรื่องเล็ก แต่ความรู้สึกมั่นใจของคนในชุมชนเป็นเรื่องใหญ่กว่า” (ผู้ใหญ่โชคชัย ลิ้มประดิษฐ์ บ้านหนองกลางดง สามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์)

  33. ขุมทรัพย์ในชุมชน ๑. ทุนทรัพยากร ดิน น้ำ ป่า พืช ผัก สมุนไพร จุลินทรีย์ สัตว์ แมลง แร่ธาตุ ความรู้ภูมิปัญญา การทำมาหากิน ปัจจัยสี่ กฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกับสรรพสิ่ง “เวลา ที่ ผี ขวัญ”ศาสตร์และศิลปะแห่งการดำเนินชีวิต ๒. ทุนทางปัญญา กฎเกณฑ์ทางสังคม จารีตประเพณี วิถีปฏิบัติในชุมชน ความเป็นพี่เป็นน้อง ความไว้ใจกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ๓. ทุนทางสังคม

  34. ระบบวิสาหกิจชุมชน จากเล็กไปหาใหญ่ จากในสู่นอก ระบบทรัพยากร เศรษฐกิจชุมชน ระบบสวัสดิการ “ระเบิดจากข้างใน” การจัดการ ระบบจัดสรรแบ่งปันทรัพยากรและรายได้ การเรียนรู้ ระบบทุน การพัฒนายั่งยืน ย่อมเกิดมาจากข้างใน บูรณาการ ระบบสุขภาพ ระบบวิถียังชีพ จากล่างสู่บน

  35. Home-stay นิเวศ ท่องเที่ยว Long-stay อนุรักษ์ ผสมผสาน การลงทุน วิสาหกิจชุมชน ปุ๋ยชีวภาพ สวัสดิการ เกษตร กองทุน OTOP อินทรีย์ การออม ก้าวหน้า ก้าวหน้า 1 ล้านบาท พื้นฐาน อาหาร แพทย์แผนไทย ผลไม้ น้ำผลไม้ สุขภาพ แชมพู สบู่ ครีม น้ำยา สมุนไพร นวด

  36. สุขภาพ สมุนไพร ยาสมุนไพร อาหาร นวด อบ สปา ครีม แชมพู ข้าวซ้อมมือ ไก่นา ปลาแม่น้ำ น้ำผลไม้ ไวน์ สุรา การท่องเที่ยว น้ำดื่ม ขนม หัตถกรรม ของใช้ชีวภาพ โฮม-ลองสเตย์ ผ้า ของที่ระลึก เลี้ยงสัตว์ ผัก ผลไม้ อาหารแปรรูป ทำนา ทำสวน ปุ๋ยชีวภาพ

  37. นักเรียน จักสาน แกะสลัก หม้อ ดินเผา มีด พร้า จอบเสียม ผ้า ไหม ข้อมูลจากโรงเรียน ของใช้ในบ้าน เสื่อ กระเป๋า งานฝีมือ สิ่งประดิษฐ ท้องถิ่น ตุ๊กตา ฯลฯ หัตถกรรม ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ของที่ระลึก การแสดงพื้นบ้าน มัคคุเทศก์ ข้าวซ้อมมือ สบู่ แชมพู ข้าว ขนม นมข้าว ผลิตภัณฑ์จากผึ้ง ของใช้ การท่องเที่ยว ขนมท้องถิ่น พันธุ์ไม้ สมุนไพร สาโท เหล้ากลั่น สุขภาพ เครื่องดื่ม การนวด อาหาร ไวน์ การอบ สปา ผัก ผลไม้พื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน น้ำสมุนไพร น้ำผลไม้ ไก่นา ปลาแม่น้ำ หมูกระโดน/สมุนไพร ชา กาแฟโบราณ อาหารแปรรูป กะปิ น้ำปลา ปลาร้า ปลาแห้ง ผลไม้แปรรูป

  38. เสรี พงศ์พิศ 081-823-8084 สถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน 469 ถนนนครสวรรค์ ดุสิต กทม. 10300โทร. 02-280-0180 ต่อ 3316-3319 Fax 02-281-8810 www: phongphit.com Email: seri137@hotmail.com เวปไซต์มหาวิทยาลัยชีวิตwww. rulife.net

  39. สำนักงานเลขานุการ เครือข่าย ศูนย์เรียนรู้และพัฒนามหาวิทยาลัยชีวิต •ฐานข้อมูลสมาชิก ข้อมูลฐานเรียนรู้ ผู้รู้ ความรู้ โดยการจัดทำเวปไซต์เครือข่าย จุลสาร-จดหมายข่าวเครือข่าย •จัดการประชุม/สัมมนา/อบรม เครือข่ายระดับชาติ •ประสานกิจกรรมร่วมระดับชาติตามแผน (กองทุน, การทอดผ้าป่าเรียนรู้ดูงาน, รณรงค์ร่วมกันเข้าพรรษา, ฯลฯ )

More Related