370 likes | 672 Views
Methods, Time Study, and Wage Payment Today. The Importance of Productivity. Increase profitability is by increasing productivity. Productivity improvement : increase in output per work-hour or time expended. Productivity ผลิตภาพ (การเพิ่มผลผลิต). คืออัตราส่วนของการผลผลิตต่อปัจจัยนำเข้า
E N D
The Importance of Productivity • Increase profitability is by increasing productivity. • Productivity improvement : increase in output per work-hour or time expended
Productivity ผลิตภาพ (การเพิ่มผลผลิต) • คืออัตราส่วนของการผลผลิตต่อปัจจัยนำเข้า • คือ อัตราส่วนระหว่างผลลัพธ์กับทรัพยากรที่ใช้/ที่ทำให้เกิดผล • Output / Input • Labor Productivity ผลิตภาพด้านแรงงาน • Capital Productivity ผลิตภาพเชิงการลงทุน • Material Productivity ผลิตภาพเชิงวัตถุดิบ
Labor Productivity ผลิตภาพด้านแรงงาน • คือ ผลผลิตต่อหน่วยเวลา • คือ ผลผลิตต่อชั่วโมงการทำงาน ผลผลิตที่เกิดจากการทำงาน ชั่วโมงการทำงาน • Ex โรงงานมีพนักงาน 100 คน ผลิตงานได้ 3000 หน่วยต่อวัน • ชั่วโมงการทำงาน = คน x เวลาทำงาน • = 100 x 1 วัน =100 คน-วัน(man-days) • LP = 3000 หน่วย / 100 คน-วัน = • = 30 หน่วย ต่อ คนต่อวัน
Labor Productivity ผลิตภาพด้านแรงงาน • Ex โรงงานเพิ่มพนักงาน 120 คน ผลิตงานได้ 4000 หน่วยต่อวัน ชั่วโมงการทำงาน = คน x เวลาทำงาน • = 120 x 1 วัน =120 คน-วัน(man-days) • = 4000 หน่วย / 120 คน-วัน • = 33.33 หน่วย ต่อ คนต่อวัน
Productivity Improvement / Performance Index • ถ้าคิดจากฐาน ผลิตภาพเดิม เป็น 100 % แล้ว ผลิตภาพใหม่จะมีค่าเท่ากับ • ผลิตภาพใหม่ / ผลิตภาพเดิม x 100 • หมายถึง ผลิตภาพที่ปรับปรุงแล้ว (PI) มีค่าเพิ่มขึ้นจากผลิตภาพเดิม • EX จากตัวอย่างที่แล้ว P I มีค่าเท่ากับ = 33.33/30 x 100 = 111.11 %
Capital Productivity ผลิตภาพเชิงการลงทุน • ในด้านการลงทุน เรื่อง อุปกรณ์ เครื่องจักร ฯลฯ ที่เป็นมูลค่า เงินลงทุน แล้วมี ผลิตภาพเท่าไร • = ผลผลิต / การลงทุน(เงินลงทุน) • EX โรงรีดเหล็ก ใช้คนงาน 8 คนต่อกะ คิดเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต = 4500 บาทต่อชั่วโมง ผลิตได้ 10 ตันต่อชั่วโมง = 10 ตันต่อชั่วโมง / 4500 บาทต่อชั่วโมง = 2.22 ก.ก/ บาท = 0.45 บาทต่อก.ก.
Capital Productivity ผลิตภาพเชิงการลงทุน • EX โรงรีดเหล็กปรัปปรุงการผลิต ใช้คนงาน 20 คนต่อกะ คิดเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต = 8500 บาทต่อชั่วโมง ผลิตได้ 20 ตันต่อชั่วโมง = 20 ตันต่อชั่วโมง / 8500 บาทต่อชั่วโมง = 2.35 ก.ก/ บาท = 0.425 บาทต่อก.ก. • PI = 2.35 / 2.22 =1.058 x 100 = 105.8 %
Material Productivity ผลิตภาพเชิงวัตถุดิบ • หมายถึง การที่สามารถผลผลิตได้โดยใช้จำนวนวัตถุดิบปริมาณหนึ่ง • อัตราส่วนของ ผลผลิตที่ได้ ต่อวัตถดิบที่ใช้ • EX โรงรีดเหล็กผลิต ผลิตเหล็กแท่งได้ 20 ตันต่อชั่วโมง โดยใช้วัตถุดิบ 21 ตัน ต่อชั่วโมง M P = 20 ตันต่อชั่วโมง / 21 ตันต่อชั่วโมง x 100 • = 95 %
Material Productivity ผลิตภาพเชิงวัตถุดิบ • EX โรงรีดเหล็กปรัปปรุงการผลิต ผลิตได้ 20.5 ตันต่อชั่วโมง MP = 20.5 ตันต่อชั่วโมง / 21 บาทต่อชั่วโมง x 100 =97.6 % • PI = 97.6 / 95 =1.027 x 100 = 102.7 %
ประวัติของการศึกษางานประวัติของการศึกษางาน • F.W. Taylor == > ศึกษาเวลา 1881 • The Gilbreths => Frank B. Gilbreths & Lillian M. Gilbreths • ==> ศึกษาการทำงาน Motion Study 1885
Work Study • Work study การศึกษางาน • 1. Motion Study การศึกษาการเคลื่อนไหว • Work method design การออกแบบวิธีการทำงาน • Method Study การศึกษาวิธีการ • 2. Time Study การศึกษาเวลา • Work measurement การวัดงาน
Motion Study การศึกษาการเคลื่อนไหว • คือ การหาวิธีการที่เหมาะสมที่ดีในการทำงาน • อาจเป็นวิธีทางอุดมคติ (Ideal) แต่ต้องใกล้เคียงกับความจริงมากที่สุด
Time Study การศึกษาเวลา • การหาเวลามาตรฐานในการทำงาน(การทำงานนั้นต้องผ่านการศึกษงานมาแล้ว) • หาเวลามาตรฐาน เพื่อ • คำนวณค่าใช่จ่าย • การวางแผนการผลิต
ขั้นตอนหลักของการศึกษางาน Work Study • แบ่งได้เป็น 4 ขั้นหลัก คือ • ๑. การพัฒนาวิธีการที่เหมาะสม ที่น่าจะเป็น สำหรับการทำงานหนึ่งๆ ==> ออกแบบการทำงาน design • ===> ประเมินวิธีการนั้น evaluation • ๒. การสร้างมาตรฐานการทำงาน • ==> เขียนมาตรฐานการปฏิบัติงาน Work Instruction- WI • Work Standard- WS
ขั้นตอนหลักของการศึกษางาน Work Study • แบ่งได้เป็น 4 ขั้นหลัก คือ • ๓. การหาเวลามาตรฐานของการทำงานนั้น • ==> จับเวลา การสุ่มงาน ฯลฯ • ๔. การฝึกอบรมพนักงาน
การพัฒนาวิธีการที่เหมาะสม ที่น่าจะเป็น การทำการศึกษางานที่เริ่มจากการพัฒนาวิธีการที่เหมาะสมนั้น แบ่งได้เป็น 1. การพัฒนาวิธีการทำงานเดิม 2. การออกแบบวิธีการสำหรับงานใหม่ ดังนั้น ควรจะเริ่มจาก ปัญหาในการทำงานเดิม ว่ามีอะไรบ้างแล้วทำการพัฒนาให้ดีขึ้น
กระบวนการแก้ไขปัญหา Problem-Solving Process ประกอบด้วย • 1. การกำหนดปัญหา Problem Definition • 2. การวิเคราะห์ปัญหา Analysis of Problem • 3. การหาวิธีแก้ไขที่เป็นได้ Search for possible solutions • 4. การประเมินทางเลือก/วิธีการแก้ไข Evaluation of alternatives • 5. การแนะนำให้เกิดการปฏิบัติ Recommendation for Action
1. การกำหนดปัญหา Problem Definition • คือการค้นหาว่า วิธีการเดิมมีปัญหาอะไร และสิ่งใดเป็นปัญหาหลักที่สมควรเข้าแก้ไขก่อน ในทางการศึกษางานเราคำนึงปัญหาที่ทำให้เกิด • ค่าใช้จ่ายที่มาก • เสียเวลามาก • สิ่งเปลืองทรัพยกรมาก
1. การกำหนดปัญหา Problem Definition • เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการช่วยกำหนดปัญหาได้แก่ • แผนภุมิ พาเรโต Pareto diagram • แผนภูมิ ก้างปลา Fish- Bone Diagram • Grantt Chart • Network & Critical Path
1. การกำหนดปัญหา Problem Definition • เครื่องมือกำหนดปัญหา แผนภูมิ พาเรโต Pareto diagram จากหลักการของนักเศรษฐศาสตร์ ชาวอิตาลี คนจำนวนเล็กน้อยมรายได้จำนวนมาก ในขณะที่คนส่วนใหญ่(จำนวนมาก) มีรายได้เพียงเล็กน้อยเช่น คนรวยเพียง 20% มีรายได้รวมกันถึง 80 % ในขณะที่ คนที่เหลืออีก 80 % มีรายได้รวมกันแค่ 20% • ข้อบกพร่อง ส่วนใหญ่จำนวนมาก เกิดจาก ปัญหา/ต้นเหตุ จำนวนน้อย
แผนภูมิ พาเรโต Pareto diagram Cost /เสียเวลา/เปลืองวัตถุดิบ A --> 75% B --> 15% C --> 7 % D --> 3%
Machine Man ปัญหา Method Material การกำหนดปัญหา ด้วย แผนภูมิก้างปลา
การกำหนดปัญหา ด้วย แผนภูมิก้างปลา Machine เครื่อง Man คน ขาดการฝึกอบรม ขาดการบำรุงรักษา ทำงานเสีย ทำของเสีย เสียบ่อยๆ ไม่มีทักษะ ปัญหา A การผลิตล่าช้า ขาดเครื่องมือ ส่งมาช้า ไม่มีมาตรฐาน สั่งซื้อช้า ไม่ได้มาตรฐาน วิธีการโบราณ วิธีการ วัตถุดิบ
Grantt Chart • คือ แผนภูมิ/ตารางกำหนดเวลา อาจเรียกว่า Bar Chart • ปกติใช้ในการวางแผนการทำงาน • สามารถใช้ในการติดตามงาน • ในการใช้กำหนดปัญหา เราพิจารณา งานใดใน Chart ที่ล่าช้ามาก แสดงงานนั้นมีปัญหาในการผลิตมาก
จัดถ้วยชา 8 จัดจานรอง 3 จัดช้อนชา รินน้ำชา วางชุดถ้วยชา 9 17 15 1 เติมน้ำร้อน 20 เติมน้ำ 10 เสียบไฟ 6 5 ใส่ใบชา วางชุดน้ำตาลนม 11 ใส่นมลงในถ้วย 12 ใส่น้ำตาลลงในถ้วย 13 Network & Critical Path
2.การวิเคราะห์ปัญหา Analysis of Problem • การวิเคราะห์ คือการแยกแยะให้เห็นรายละเอียด แยกให้เห็นส่วนย่อยๆของปัญหา • ใช้เครื่องในการวิเคราะห์ปัญหาในการศึกษางาน ได้แก่ • วิเคราะห์กระบวนการ Process Analysis เช่น Operation Process Chart, Flow Process Chart • วิเคราะห์ คน-เครื่องจักร เช่น Man-Machine Chart • วิเคราะห์การทำงาน Operation Analysis เช่น Two-hand Chart, Two-hand Process Chart • วิเคราะห์การเคลื่อนไหวจุลภาค Micro-Motion Study
3. การหาวิธีแก้ไขที่เป็นได้ Search for possible solutions การหาวิธีการเพื่อแก้ไข สามารถหาวิธีการได้หลายวิธีด้วยกัน ซึ่งแต่ละวิธีสามารถทำได้โดยการใช้เทคนิคต่างๆ ได้แก่ • เทคนิคการตั้งคำถาม 5 W 2H • เทคนิค ECCS
เทคนิคการตั้งคำถาม 5 W 2H การตั้งคำถาม ใช้เพื่อหาสาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหา คำถามได้แก่ • What = อะไร => ทำงานอะไร จุดประสงค์ของการทำงานนี้คืออะไร • Who = ใคร => ใครเป็นคนทำงานนี้ • Where =ที่ไหน => งานนี้ทำที่ไหน ตรงไหน • When =เมื่อไร => ทำงานนี้เมื่อไร • How = อย่างไร => ทำงานนี้อย่างไร • How much = เท่าไร => เสียค่าใช้จ่ายเท่าไร • Why =ทำไม => ทำไมต้องทำงานนี้ ทำไมต้องคนนี้ทำ ทำไมต้องทำตรงนี้ ทำไมทำเวลานี้ ทำไมทำวิธีนี้
เทคนิคการตั้งคำถาม 5 W 2H ตัวอย่างคำถามได้แก่ • What = อะไร => ทำงานอะไร จุดประสงค์ของการทำงานนี้คืออะไร • Who = ใคร => ใครเป็นคนทำงานนี้ • Where =ที่ไหน => งานนี้ทำที่ไหน ตรงไหน • When =เมื่อไร => ทำงานนี้เมื่อไร • How = อย่างไร => ทำงานนี้อย่างไร • How much = เท่าไร => เสียค่าใช้จ่ายเท่าไร • Why =ทำไม => ทำไมต้องทำงานนี้ ทำไมต้องคนนี้ทำ ทำไมต้องทำตรงนี้ ทำไมทำเวลานี้ ทำไมทำวิธีนี้
เทคนิค ECCS เทคนิคเพื่อการปรับปรุงงาน ประกอบด้วย E=Eliminate all unnecessary work ขจัดงานที่ไม่จำเป็นออกให้หมด C= Combine operation or element รวมการทำงานหรืองานย่อยเข้าด้วยกัน C= Change the sequence of operation ลำดับขั้นการทำงานใหม่ S=Simplify the necessary operation ทำงานที่จำเป็นให้ง่ายขึ้น
เทคนิค ECCS E=Eliminate all unnecessary work ขจัดงานที่ไม่จำเป็นออกให้หมด การตัดงานที่ไม่จำเป็นในการทำงาน โดยการหาสาเหตุและตั้งคำถามสำหรับงานนั้น เช่น การตัดกระดาษก่อนเข้าเล่ม ซึ่งอาจเป็นงานที่ไม่จำเป็น เราอาจตั้งคำถาม ว่า ทำไมต้องตัดกระดาษ ก่อนเข้าเล่ม ถ้ามีคำตอบที่แสดงความจำเป็น ก็ไม่สามารถตัดงานนั้นได้ แต่ ถ้าไม่มีเหตุในการทำงานนั้น ๆ ก็แสดงว่าเป็นงานที่สามารถตัดทิ้งได้
เทคนิค ECCS C= Combine operation or element รวมการทำงานหรืองานย่อยเข้าด้วยกัน งานบางชนิดสามารถรวมเข้าด้วยกันได้ เช่น • การจัดเก็บและนับจำนวนไปในเวลาเดียวกัน
เทคนิค ECCS S=Simplify the necessary operation ทำงานที่จำเป็นให้ง่ายขึ้น พิจารณางานที่จำเป็นทำจริงให้ทำงานได้ง่ายขึ้นเช่น • การมีอุปกรณ์ช่วย
เทคนิค ECCS C= Change the sequence of operation ลำดับขั้นการทำงานใหม่ เมื่อขจัดงานที่ไม่จำเป็น หรือรวมขั้นการทำงานแล้ว อาจต้องมีการลำดับการทำงานนั้นใหม่