400 likes | 756 Views
Business Continuity Management. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 22 พฤษภาคม 2555 ณ รอยัล พารากอนฮอล์. Business Continuity-1/2012. “ปัจจัยความเสี่ยงทางธุรกิจมีผลโดยตรงต่อความต่อเนื่องของธุรกิจ” “Business risk factor effect directly to business continuity”.
E N D
Business Continuity Management โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 22 พฤษภาคม 2555 ณ รอยัล พารากอนฮอล์ Business Continuity-1/2012
“ปัจจัยความเสี่ยงทางธุรกิจมีผลโดยตรงต่อความต่อเนื่องของธุรกิจ”“ปัจจัยความเสี่ยงทางธุรกิจมีผลโดยตรงต่อความต่อเนื่องของธุรกิจ” “Business risk factor effect directly to business continuity”
นิยามการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจBusiness Continuity Management (BCM) “การบริหารและประเมิน โอกาสที่อาจมีความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก รวมถึงปัจจัยจากภัยธรรมชาติ ซึ่งอาจมีผลกระทบทำให้การดำเนินธุรกิจเกิดความไม่สะดวกหรือทำให้ธุรกิจต้องหยุดชะงักเกิดความเสียหาย ทั้งชั่วคราวหรือทำให้ธุรกิจต้องปิดกิจการโดยสิ้นเชิง”
บริหารความเสี่ยง...เกี่ยวข้องโดยตรงกับความต่อเนื่องทางธุรกิจบริหารความเสี่ยง...เกี่ยวข้องโดยตรงกับความต่อเนื่องทางธุรกิจ ระบบบริหารความเสี่ยง หมายถึง ระบบการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการดำเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละโอกาสที่จะทำให้เกิดความหาย เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรมีความต่อเนื่องและเกิดความมั่นคงในการดำเนินธุรกิจ พันธะกิจของการบริหารความเสี่ยง เป็นการบริหารปัจจัยความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับที่สามารถรับได้โดยมีการประเมินปัจจัยความเสี่ยง ประเมินการจัดการให้มีระบบควบคุมความเสี่ยง และมีการตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของหน่วยงานเป็นสำคัญ
วัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยงวัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยง • Risk Protection กำหนดแนวทางป้องกันความเสี่ยงต่างๆ ซึ่งอาจเกิดขึ้นกับองค์กรและส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อความเสียหายและความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจขององค์กร • Risk Awareness เพื่อให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก และเข้าใจถึงความเสี่ยง ด้านต่างๆที่เกิด ขึ้นกับองค์กร และหาวิธีจัดการที่เหมาะสมในการลด ความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ • Inspectionกระบวนการในการตรวจสอบในองค์กรเพื่อให้สามารถ บริหารจัดการความไม่แน่นอนจากปัจจัยที่คาดไม่ถึงที่อาจเกิดขึ้นกับ องค์กรได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
ความเสี่ยงของธุรกิจ...มีอะไรบ้างWhat is ... Business Risk ? ความเสี่ยงของธุรกิจประกอบด้วย • Reliability ความน่าเชื่อถือ • Responsibility ความรับผิดชอบ • Liability การชดใช้ค่าเสียหาย • Opportunity ความเสียโอกาส • Business Termination การปิดกิจการโดยสิ้นเชิง • Legal Offense ความผิดตามกฎหมาย
ความเสี่ยงที่สำคัญและจะต้องให้มีการบริหารความเสี่ยงความเสี่ยงที่สำคัญและจะต้องให้มีการบริหารความเสี่ยง • ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) • ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) • ความเสี่ยงด้านการเงิน(Financial Risk) • ความเสี่ยงด้านกฎหมายและกฎระเบียบทางราชการ(Law Compliance Risk) • ความเสี่ยงด้าน ITและระบบการสื่อสาร (IT &Communication Risk) • ความเสี่ยงจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ และสภาวะแวดล้อม(Natural & Environmental Disasters) • ความเสี่ยงด้านการเมืองทั้งในประเทศและต่างประเทศ (Political Risk)
ความเสี่ยงในธุรกิจเกิดจากคนเป็นส่วนใหญ่ความเสี่ยงในธุรกิจเกิดจากคนเป็นส่วนใหญ่ ความเสี่ยงจากการไม่ปฏิบัติตามระบบงานที่กำหนดไว้ เช่น การไม่ผ่านระบบควบคุมคุณภาพและหรือไม่ปฏิบัติตามคู่มือการทำงาน รวมถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการกระทำโดยความประมาทเลินเล่อ หรือจากการมีระบบงานที่ไม่ดี หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบทางราชการที่เกี่ยวข้องทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ
Law Compliance Riskความเสี่ยงด้านกฎหมายมีผลโดยตรงต่อความต่อเนื่องของธุรกิจ ความต่อเนื่องของธุรกิจที่เกิดจาก ความเสี่ยงประเภทที่เกิดจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย (Law Compliant) ทั้งกฎหมายธุรกรรม, ภาษี, กฎหมายแรงงาน, ประกันสังคม,รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม-สุขอนามัยทั้งของลูกจ้างและผู้บริโภครวมทั้งความปลอดภัยของพนักงานและชุมชน
การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจต้องมีการบริหารความเสี่ยงIt is necessary to apply risk management to manage business continuity • การประเมินความเสี่ยงและโอกาส ที่งานสำคัญจะหยุดชะงักจากเหตุฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น • ประเมินความเสียหาย จากการหยุดชะงักของการดำเนินงานที่สำคัญ (Major operational disruptions) • กำหนดนโยบายการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ให้อยู่ในยุทธศาสตร์ขององค์กร (Business continuity Strategy Plan) • วิธีการปฏิบัติการติดตามและการตรวจสอบ การปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายและแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business continuity plan : BCP) • การกำหนดคณะทำงานและผู้รับผิดชอบ ด้านปฏิบัติการได้แต่จะต้องติดตามดูแลการดำเนินการเพื่อให้องค์กรมีความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจ
Business Continuity Plan (BCP) • Emergency Plan การจัดทำแผนปฏิบัติการฉุกเฉินเพื่อให้ธุรกิจต่อเนื่อง (BCP) เพื่อการรองรับการดำเนินการอย่างต่อเนื่องจากเหตุฉุกเฉิน • Business Continuity Committee การจัดตั้งคณะกรรมการและศูนย์ปฏิบัติงาน BCM ควรมีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานทันทีที่เกิดเหตุฉุกเฉินหรือภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ (Recovery Time Objectives) • Business Continuity Manual การจัดทำคู่มือและประชาสัมพันธ์ ให้ลูกค้าหรือผู้เกี่ยวข้องทราบถึงเหตุฉุกเฉิน ผลกระทบที่เกิดขึ้น ช่องทางที่ลูกค้าหรือผู้เกี่ยวข้องจะสามารถติดต่อขอใช้บริการหรือสื่อสารกับบริษัทได้ตลอดระยะเวลาที่เกิดเหตุฉุกเฉิน • Business Continuity Strategy ต้องมีการกำหนดแผนจัดการธุรกิจต่อเนื่องไว้ในแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร • Supply Chain Risk Management (SCR) ต้องนำระบบซับพลายเชนเข้ามามีส่วนร่วม ควรมีแนวทางการปฏิบัติงานฉุกเฉินร่วมกับซับพลายเออร์ เอาท์ซอร์สและผู้ให้บริการโลจิสติกส์และกระบวนการซับพลายเชนภายนอกที่สามารถรองรับการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องได้
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (คุณชัยมงคล) ด้านความปลอดภัยในสำนักงานและสุขอนามัย (คุณธนะภัทท์) ด้านทุจริตและคอร์รัปชั่น (คุณสุจารี) ด้านความปลอดภัยและอุบัติเหตุ (คุณสุริยา) ประธานคณะกรรมการยุทธศาตร์ความเสี่ยง (ดร.ธนิต โสรัตน์) ด้านบุคคล (คุณดวงรัตน์) ด้านกฎหมายและข้อบังคับการทำงาน (คุณอำนวย) ด้านการจัดการความเสี่ยงรายลูกค้า (คุณปัทมา) คณะกรรมการยุทธศาสตร์บริหารความเสี่ยงRisk Management
ต้องมีประกาศจัดตั้งคณะกรรมการความเสี่ยงฯ (Risk Management)
จัดทำแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ(BCP)จะต้องมีการการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • Emergency Case Model จำลองเหตุการณ์ฉุกเฉิน ที่ทำให้เกิดการหยุดชะงักและก่อให้เกิดความเสียหายและส่งผลกระทบทางธุรกิจทั้งในระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว • Worst-Case Evaluation ประเมินความเสียหายจากการหยุดชะงัก ของงานสำคัญ ทั้งด้านการผลิตระบบซับพลายเชน,ระบบโลจิสติกส์ รวมทั้งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งซอฟแวร์และฮาดร์แวร์ • Recovery point objective การประเมินแนวทางวิธีการและระยะเวลาจะกู้คืนได้ เพื่อให้บริษัทสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง และไม่ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อลูกค้า การดำเนินธุรกิจ • Risk Damage Evaluation ประเมินผลกระทบทั้งในรูปของตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงินที่มีต่อลูกค้า พนักงาน บริษัทในเครือ อุปกรณ์ ทรัพย์สินและที่ทำการของบริษัท สถานะการเงิน ความเชื่อมั่นของลูกค้าและชื่อเสียงของบริษัท รวมถึงการปฏิบัติตามกฎระเบียบของทางการ
การอบรมและการทดสอบ เพื่อทบทวน แผนรองรับเหตุฉุกเฉินและความต่อเนื่องทางธุรกิจ • การจัดทำคู่มือการทำงานภายใต้สถานะการณ์ฉุนเฉิน ต้องสอดคล้องกับแผนธุรกิจต่อเนื่อง (BCP) สามารถปฏิบัติงานได้จริง และปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัย • กำหนดการซ้อมและให้มีกระบวนการ ทดสอบ ปรับปรุง ทบทวน แผนรองรับเหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติอย่างสม่ำเสมอปีละ 1-2 ครั้ง • คณะกรรมการ BCM ต้องมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความพร้อม และซักซ้อม ทำความเข้าใจกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง • จัดให้มีการอบรม แผนธุรกิจต่อเนื่อง (BCM) ให้กับพนักงานที่เข้ามาใหม่อย่างเป็นระบบ • กระบวนการตรวจสอบอย่างเป็นระบบ โดยมีหน่วยงานการตรวจสอบคู่มือ, การซ้อม,การประชุมและการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยและการปฏิบัติตามกฎหมาย
การทดสอบและการประเมินต้องครอบคลุมอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้การทดสอบและการประเมินต้องครอบคลุมอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ • ความพร้อมของระบบการจัดการบริหารความเสี่ยง เครือข่าย อุปกรณ์ต่างๆ และการสำรองและกู้คืนข้อมูลสำคัญ โดยสามารถกู้คืนข้อมูลล่าสุดตามที่กำหนดไว้จากอุปกรณ์หรือสถานที่จัดเก็บได้ • การอพยพพนักงานหรือการเคลื่อนย้ายพนักงานไปยังสถานที่ที่สำนักงานหรือโรงงานกำหนดไว้ • การติดต่อสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง ความถูกต้องและทันสมัยของรายชื่อและข้อมูลที่ใช้ในการติดต่อ • การซ้อมแผน BCP ด้วยการจำลองการผจญภัยพิบัติต่างๆ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เช่น สถานการณ์การเกิดน้ำท่วม แผ่นดินไหว การลอบวางระเบิด การเดินขบวนประท้วง เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทสามารถดำเนินงานตาม BCP ได้อย่างถูกต้อง • การประเมินความพร้อมของแผนปฏิบัติการ BCM รวมทั้งโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้องว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด โดยผู้ประเมินอาจเป็นบุคคลภายในหรือภายนอกบริษัท • การทบทวนระบบ BCP ทั้งขั้นตอนการปฏิบัติและคู่มือความเสี่ยงยังคงมีความทันสมัยและมีช่องโหว่หรือคอขวดในระบบอย่างไร
การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ • การสื่อสารในองค์กร การดำเนินการสื่อสารประชาสัมพันธ์ระบบปฏิบัติ BCP และการเผยแพร่คู่มือแผนปฏิบัติการให้พนักงานมีความเข้าใจอย่างทั่วถึง โดยกำหนดระยะเวลาในการซ้อมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • ให้ทางฝ่ายการตลาดประชาสัมพันธ์ระบบ BCMโดยอาจใส่ไว้ในWEBSITE ของธุรกิจหรือจัดทำเป็นแผ่น CD แจกจ่ายลูกค้าและแจ้งแผนการซ้อมระบบ • จัดให้ลูกค้ามาเยี่ยมชมระบบ BCM และระบบสำรองหรือ Remote Officeโดยจัดเป็นตารางการเชิญลูกค้าเข้ามาเยี่ยมชมตามกลุ่มลูกค้า • จัดป้ายแสดงระบบการใช้ระบบ BCMโดยการขึ้นทะเบียนรายชื่อ การดำเนินการต่างๆ เมื่อถึงเวลาฉุกเฉินพนักงานสามารถเคลื่อนย้ายได้ตามจุดเป้าหมายที่ตนเองรับผิดชอบ และจัดทำให้ทันสมัยโดยตรวจสอบความทันสมัยของทะเบียนต่างๆ ทุก 3 เดือน โดยผู้มีหน้าที่ควบคุมเป็นผู้เซ็นรับรอง
ความล้มเหลวของการจัดการ BCM • ผู้บริหารระดับสูงขาดวิสัยทัศน์และไม่ได้ให้ความสำคัญ • แผน BCP และคู่มือบริหารความเสี่ยง-ความต่อเนื่องจากธุรกิจไม่ครอบคลุมถึงปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ • ไม่มีการตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับ BCM • ขาดกลไกในการสนับสนุนทั้งด้านการเงินและการจัดการเพื่อให้เกิด BCM ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ไม่ได้รับความร่วมมือจากพนักงานหรือวัฒนธรรมขององค์กรไม่เอื้อต่อกระบวนการจัดการ (BCM)
“คุณแน่ใจหรือไม่ว่า คุณและธุรกิจยังมีความปลอดภัยและยั่งยืนภายใต้ความเสี่ยงที่ไม่สามารถคาดเดาได้???”
END ข้อมูลเพิ่มเติมwww.tanitsorat.com
V-SERVE Case-Study “REMOTE OFFICE” • วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็น “สำนักงานสำรอง”(Backup Office) และ “สำนักงานสำหรับกู้คืนระบบและข้อมูล”(Disaster Recovery Site : DR.Site)เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินกิจกรรมต่างๆ ต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง(Business Process Continuity) • การบริหารความไม่แน่นอนด้านสารสนเทศ และการเปลี่ยนแปลงของสภาวะการณ์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง (RISK) กับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT.) และกระบวนการทำงาน (Business Process) ต่างๆทั้งที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น ภัยพิบัติ, ภัยธรรมชาติต่างๆ และที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น อัคคีภัย, โจรกรรม, ไวรัส, Hacker, วินาศภัย, จลาจล, การประท้วงทางการเมือง เป็นต้น
ความเสี่ยงอะไรบ้างที่เกิดจากการทำงานของไอทีที่มีผลต่อการทำธุรกิจขององค์กรความเสี่ยงอะไรบ้างที่เกิดจากการทำงานของไอทีที่มีผลต่อการทำธุรกิจขององค์กร • การหยุดชะงักของระบบ และการดึงเอาข้อมูลขึ้นมาใช้งานจากระบบงานไอที ทั้งจากอุบัติภัยธรรมชาติหรือภัยธรรมชาติต่างๆ • ข้อมูลที่เป็นความลับเกิดการรั่วไหลออกไปสู่บุคคลภายนอก โดยเฉพาะคู่แข่งทางการค้า • การโจมตีจากไวรัสหรือการถูกแฮกเกอร์ • การเข้าถึงข้อมูลจากบุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาต
REMOTE OFFICE ประกอบด้วยกระบวนการ / แผนงาน อยู่ 2 ด้านใหญ่ๆ • DISASTER RECOVERY PLANNING : DRP.(แผนการกู้คืนระบบ และข้อมูล จากเหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติ เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินงานต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง) • BUSINESS CONTINUITY PLANNING : BCP. (แผนการจัดการกิจกรรมและกระบวนการทางธุรกิจ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติ เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินงานต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง)
นโยบายเรื่อง ระยะเวลาในการกู้คืนระบบและข้อมูล (RTO.) และจุดที่สามารถกู้คืนกลับมาได้ล่าสุด (RPO.) • RTO. (Recovery Time Objective) คือระยะเวลาที่คาดว่าจะใช้ที่ในการกู้คืนระบบและข้อมูลกลับคืนมาได้ หลังเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ *** โดย V-Serve ได้ตั้งไว้ที่ RTO < = 2 ชั่วโมง หลังเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ • RPO. (Recovery Point Objective) คือ จุดสุดท้าย / ระยะเวลาล่าสุด ที่จะย้อนกลับไปใช้ข้อมูลสำรอง (ยอมให้ข้อมูลล่าสุดหายได้นานแค่ไหน) หรือ จุด/ระยะเวลาที่สามารถกู้คืนกลับมาได้ล่าสุด *** โดย V-Serve ได้ตั้งไว้ที่ RPO < = 1 ชั่วโมง หลังเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ
จัดตั้งทีมปฏิบัติการเพื่อจัดการรองรับเหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติ (DRO.Team/BPS. Team) เป็นแกนนำในการปฏิบัติการกู้คืนระบบและข้อมูล (DRO.) ซึ่งเป็นกระบวนการทางด้านไอทีเป็นหลัก โดยมีทีมสนับสนุนกิจกรรม และกระบวนการทำงานหลักของธุรกิจ (BPS.) คอยช่วยประสานงานในกระบวนการทำงาน และกิจกรรมหลักต่างๆ เพื่อให้สำนักงาน Remote Office สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง โดยทำการกู้คืนระบบและข้อมูล เรียงตามลำดับความสำคัญของระบบงาน ดังนี้1. กู้คืนระบบและข้อมูล Integrated ERP. / Plan Loading2. กู้คืนระบบและข้อมูล PAPERLESS3. กู้คืนระบบและข้อมูลการเงิน-บัญชี (ระบบเดิม)4. กู้คืนระบบและข้อมูล Export Dole System (ระบบเดิม)5. กู้คืนระบบและข้อมูลคืนอากร/ชดเชยอากร 6. กู้คืนระบบและข้อมูลขายสินค้า M&E7. กู้คืนระบบและข้อมูล เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Document Filing)8. กู้คืนระบบ AD. Server, Terminal Service Server 9. กู้คืนระบบ Network, Internet, E-Mail, Security.
กระบวนการรับมือภายใต้สภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินงานต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง • รับแจ้งเหตุจากผู้พบเห็น / รปภ. • คณะกรรมการ ROC. ประเมินความเสียหาย และความเสี่ยง โดยรวมของบริษัท และประกาศเหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติ ให้พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ • สั่งการให้เปิดใช้ REMOTE OFFICE(RO.) แต่ละที่ • ทีมกู้คืนระบบและข้อมูล (Disaster Recovery Operation) เปิดการใช้ระบบสำรองหลัก (Starting Service) ในฝั่ง Remote Office#1 (RO.1/ DR.Site) และ Setup / Starting up Server ทั้งหมด ในทุก Remote Office ให้พร้อมใช้งาน
กระบวนการรับมือภายใต้สภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินงานต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง (ต่อ) • ทีมสนับสนุนกิจกรรม และกระบวนการทำงานหลักของธุรกิจ (Business Process Supporting) - ประสานงาน และสื่อสารองค์กร ให้พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ - เคลื่อนย้ายคน, เอกสาร, อุปกรณ์ / เครื่องใช้ ที่จำเป็น ไปยัง RO. ที่กำหนด - จัดเตรียมสถานที่ และอุปกรณ์ ในแต่ละ Remote Office ให้พร้อมสำหรับการดำเนินงาน • พนักงานแต่ละหน่วยงาน เข้าทำงานตาม Remote Office ที่กำหนด และหากติดขัดจุดใด ให้ประสานมาที่หัวหน้าที่ DRO./BPS. หรือประธาน ROC./ERM./MR.Safety ได้ตลอดเวลา • หัวหน้าทีม DRO./BPS.เฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบ ดูแล ความเรียบร้อย การทำงานในทุกระบบของ RemoteOffice และรายงานให้กับประธาน ROC./ERM. ทราบทุกวัน.
กระบวนการพื้นฟูหลังพ้นภัยพิบัติเพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินการได้เป็นปรกติกระบวนการพื้นฟูหลังพ้นภัยพิบัติเพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินการได้เป็นปรกติ • หากสถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติ พร้อมปฏิบัติงาน ประธาน ROC. สั่งการให้ หน้าทีม DRO. / BPS. กลับเข้าไปแก้ไข / ปรับปรุง / ซ่อมแซม / ป้องกัน ระบบงานทุกระบบ (ทั้งระบบคอมพิวเตอร์ และกระบวนการทำงาน) ให้เรียบร้อย และทดสอบความถูกต้อง ครบถ้วน พร้อมใช้งาน แล้วรายงานต่อประธาน ROC. • การแจ้งให้ลูกค้ารับรู้ ควรมีการแจ้งทั้งทางเอกสารและการเข้าไปพบกรณีที่เป็นลูกค้ารายใหม่ • ประธาน ROC. ประกาศยกเลิก เหตุฉุกเฉินและภัยพิบัติ ประกาศยกเลิกสำนักงาน ROC. และประกาศการเข้าสู่ภาวะปกติ เพื่อให้ทุกหน่วยงานกลับเข้ามาทำงาน ณ. Head Office ได้ ในวันและเวลา ที่กำหนด • จัดให้มีการประชุมสรุปปัญหาและความเสียหายที่เกิดขึ้นจากอุบัติภัยหรือภัยธรรมชาติ พร้อมหาแนวทางปฏิบัติ พัฒนากระบวนการให้รวดเร็ว รัดกุม เพื่อให้สามารถตอบสนองกับเหตุการณ์ได้อย่างอย่างทันทีทันใด และมีขีดสามารถในการให้บริการได้อย่างต่อเนื่องในระดับ High Availability (HA.) มากยิ่งขึ้น
END ข้อมูลเพิ่มเติมwww.tanitsorat.com