390 likes | 1.31k Views
เศรษฐศาสตร์ มห ภาค EC 312 บทนำ. รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา ห้องพัก 754 อาคาร Y ชั้น 7. หมายเหตุเอกสารประกอบการสอนทั้งหมดสามารถ download ได้จาก website คณะฯ และ TU- moodle โดยจะ upload เป็นระยะตามหัวข้อการบรรยาย. อะไรคือเศรษฐศาสตร์.
E N D
เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312บทนำ รศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา ห้องพัก 754 อาคาร Y ชั้น 7 หมายเหตุเอกสารประกอบการสอนทั้งหมดสามารถ download ได้จาก website คณะฯ และ TU- moodle โดยจะ upload เป็นระยะตามหัวข้อการบรรยาย
อะไรคือเศรษฐศาสตร์ “Study of mankind in the ordinary business of life; it is Examines that part of individual and social action which is most closely connected with the attainment and with the use of the material requisites of well-being” Alfred Marshall
อะไรคือเศรษฐศาสตร์มหภาคอะไรคือเศรษฐศาสตร์มหภาค “คือการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในภาพรวม(Aggregate Economy)” ปัจจัยที่จะต้องให้ความสำคัญศึกษาได้แก่ • ผลผลิตรวม Total Output • ระดับราคา Price level • การจ้างงาน Employment • อัตราดอกเบี้ย Interest Rate • อัตราค่าจ้าง Wage Rates • อัตราแลกเปลี่ยน Foreign Exchange • ฯลฯ
อะไรคือเศรษฐศาสตร์มหภาคอะไรคือเศรษฐศาสตร์มหภาค • คือแบบจำลองที่ใช้อธิบายปรากฎการณ์ทางเศรษฐศาสตร์มหภาค • ความสำคัญของปรากฎการณ์ทางเศรษฐศาสตร์มหภาคเป็นเรื่องระยะยาว และวัฐจักรทางธุรกิจ • การอธิบายความทางเศรษฐศาสตร์มหภาคต้องอาศัยความรู้เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นพื้นฐาน
GDP กับการขยายตัวของเศรษฐกิจ และวัฐจักรเศรษฐกิจคืออะไร • Gross Domestic Product (GDP): คือการวัดขนาดของระบบเศรษฐกิจ (ขนาดสินค้าและบริการที่ถูกผลิต) ภายในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งๆ • ข้อมูลตามช่วงเวลาของGDP สามารถจำแนกออกเป็นตามแนวโน้มเวลา (time Trend) หรือวัฐจักรเศรษฐกิจ (Business Cycles)
Hamberger Crisis เศรษฐกิจขยายตัวจากการส่งออก เนื่องจากการเปิดการค้าเสรีโลก วิกฤติน้ำท่วม วิกฤติต้มยำกุ้ง ที่มา: BOT
อัตราเงินเฟ้อของประเทศไทย 2550 = 100 วิกฤติเศรษฐกิจ Hamberger crisis
อัตราเพิ่มการส่งออก อัตราเพิ่มการนำเข้า ที่มา: BOT
อัตราเงินเฟ้อ อัตราการว่างงาน ที่มา: BOT, กรมเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
ประเด็นที่ควรเข้าใจของเศรษฐศาสตร์มหภาคปัจจุบันประเด็นที่ควรเข้าใจของเศรษฐศาสตร์มหภาคปัจจุบัน • ประสิทธิภาพการผลิตรวม Aggregate productivity • ภาษี การใช้จ่ายของรัฐ การขาดดุลของรัฐบาล • การกำหนดอัตราดอกเบี้ย Interest Rates • วัฐจักรเศรษฐกิจของประเทศ Business • ตลาดการเงินและวิกฤติการเงิน Credit Markets and the Financial Crisis • การขาดดุล – เกินดุลบัญชีเดินสะพัด และบัญชีชำระเงิน • ปัญหาเงินเฟ้อ Inflation • ปัญหาการว่างงาน Unemployment • ฯลฯ
วิธีคิดของนักเศรษฐศาสตร์วิธีคิดของนักเศรษฐศาสตร์ • พยายามทำทุกอย่างให้เป็นวิทยาศาสตร์มากที่สุด หลีกเลี่ยงการใช้ดุลยพินิจให้มากเท่าที่จะทำได้ • เป็นเหตุผลทำให้มีการพัฒนาแบบจำลองต่างๆ เป็นเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ สร้างความเข้าใจ ฯลฯ ในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์ • ตัวอย่าง สมการอุปสงค์ Qd = f(P, Y,…) สมการอุปทาน Qs = f(P, Pm ) • จากสมการดังกล่าวสามารถอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่มีผลต่อตัวแปรที่มีในสมการได้ และยังเป็นเครื่องมือช่วยอธิบายแนวคิดความเชื่อของนักเศรษฐศาสตร์ของแต่ละสำนัก
การศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคการศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาค • ศึกษาผลกระทบหรือปัจจัยต่างๆ • ที่มีต่อการกำหนดระดับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐศาสตร์มหภาค (Factors that Determine levels) เช่น การใช้จ่ายรัฐบาล • ผลกระทบของปัจจัยเหล่านั้นในแต่ละช่วงเวลา (How the variables change over time) เช่นอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ การศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคจึงเป็นการเรียนรู้ด้านนโยบาย (Policy Oriented) เช่นนโยบายการคลัง-การเงินของรัฐบาล ตัวอย่างของนโยบายคือการเพิ่มการใช้จ่ายรัฐบาล การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารกลาง
ตัวอย่างคำถามเศรษฐศาสตร์มหภาคตัวอย่างคำถามเศรษฐศาสตร์มหภาค • การขยายตัวของเศรษฐกิจ (economic Growth) • เสถียรภาพของเศรษฐกิจ (Economic Stability) • ความสัมพันธ์ผลผลิต-การว่างงาน (Output-Unemployment Relationship) • การเพิ่มขึ้นของระดับราคา (Increase in Price Level) • การเพิ่มขึ้นของการว่างงาน (Increase of Unemployment Rate)
เงื่อนไขของแบบจำลองเศรษฐกิจพื้นฐานเงื่อนไขของแบบจำลองเศรษฐกิจพื้นฐาน closed economy, market-clearing model Supply side • ตลาดปัจจัยการผลิต factor markets (supply, demand, price) • กำหนดขนาดของผลผลิต/รายได้ determination of output/income Demand side • กำหนดขนาดของC, I, และG Equilibrium • เป็นเรื่องของตลาดสินค้า goods market • มีตลาดการกู้ยืม loanablefunds market
การวัดปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์มหภาค(Measurement of Macroeconomic Variables) • บัญชีรายได้ประชาชาติ (National Income Account) เหมือนการทำบัญชีภาคเอกชนในการประกอบกิจการที่ต้องแสดงรายการของสองด้านได้แก่ • การผลิต (Production Side) แสดงการผลิตและการได้มาของรายได้หรือการขาย เช่นภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ เป็นต้น • รายได้ (Income Side) แสดงการกระจายของรายได้ที่เกิดขึ้นว่ามาจากขั้นตอนของการหารายได้อย่างใด เช่นรายได้ของภาคประมง อุตสาหกรรมรถยนต์
การผลิต (Production Side) • การวัดขนาดที่นิยมใช้คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product: GDP) และ รายได้ประชาชาติ (Gross National Product: GNP) • แสดงการใช้ปัจจัยการผลิต (K, L) และสมการการผลิต (Production Function) ที่แสดงประสิทธิภาพการผลิตของปัจจัยทุน – ปัจจัยแรงงาน ซึ่งเป็นพื้นฐานการกำหนดผลตอบแทนให้ปัจจัยการผลิตทั้งสอง • ทำให้ต้องสนใจการตัดสินใจขายปัจจัยการผลิตของเจ้าปัจจัยทั้งสอง • ในที่สุดได้สมการการผลิต Y = f(K, L)
รายได้ (Income Side) • เป็นการวัดขนาดของรายได้ประชาชาติ (National Income) และรายได้ของประชาชนในประเทศ • แสดงระดับผลตอบแทนที่ให้แก่ปัจจัยทุน และแรงงาน หรืออีกนัยหนึ่งคือการกระจายผลตอบแทน (รายได้) ระหว่างเจ้าของทุนและแรงงาน • โดยผลตอบแทนทุนคือ ค่าเช่า = MPk • และผลตอบแทนแรงงานคือค่าจ้าง = MPL
เงื่อนไขของแบบจำลองเศรษฐกิจพื้นฐานเงื่อนไขของแบบจำลองเศรษฐกิจพื้นฐาน closed economy, market-clearing model Supply side • ตลาดปัจจัยการผลิต factor markets (supply, demand, price) • กำหนดขนาดของผลผลิต/รายได้ determination ofoutput/income Demand side • กำหนดขนาดของC, I, และG Equilibrium • เป็นเรื่องของตลาดสินค้า goods market • มีตลาดการกู้ยืม loanablefunds market
อุปสงค์สำหรับสินค้าและบริการอุปสงค์สำหรับสินค้าและบริการ องค์ผระกอบของ aggregate demand: C = ความต้องการบริโภคสินค้าและบริการ I = ความต้องการการลงทุน G = ความต้องการใช้จ่ายของรัฐบาล (เป็นกรณีเศรษฐกิจแบบปิด)
ตลาดการกู้ยืม The loanable funds market • เป็นแบบจำลองอย่าง่ายสำหรับระบบการเงินพื้นฐาน • สินทรัพย์มีเพียง: “loanable funds” • อุปสงค์การกู้ยืม:การลงทุน • อุปทานของเงิน:การออม • “ราคา (ต้นทุน)” ของเงิน: อัตราดอกเบี้ยแท้จริง
แนวทางการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองทางเศรษฐกิจแนวทางการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองทางเศรษฐกิจ ตัวแปรภายใน ตัวแปรภายนอก แบบจำลองเศรษฐกิจ (Economic Model) ผลที่มีต่อการบริโภคของประชาชนโดยทั่วไป อาทิเช่น ระดับราคา การขึ้นภาษี หรือดอกเบี้ย ฯลฯ
ความสนใจในเศรษฐศาสตร์มหภาคความสนใจในเศรษฐศาสตร์มหภาค • เศรษฐกิจโลก (World Economy) • เศรษฐกิจระดับภูมิภาค เช่น เอเชีย-แปซิฟิค (AsiaPacific Economy) • เศรษฐกิจระดับประเทศ (Country Economy)
ลำดับของการศึกษา • Keynesian Economics • Classical Economics • Monetarism • New Classical Economics • Real Business Cycle Theory • New Keynesian Theory
แนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับเศรษฐกิจประเทศไทยแนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับเศรษฐกิจประเทศไทย • โดยทั่วไปมักนิยมใช้ทฤษฎีของ Classics และ Keynesian • ทั้งสองทฤษฎีมีพื้นฐานการพัฒนากรอบแนวคิดจากประเทศพัฒนาแล้ว • การนำมาประยุกต์ใช้จึงต้องมีความระมัดระวังกับกรณีประเทศกำลังพัฒนาอย่างประเทศไทย
ข้อควรระวังในการประยุกต์แนวคิดจากต่างประเทศข้อควรระวังในการประยุกต์แนวคิดจากต่างประเทศ • ละเลยความสำคัญของภาคต่างประเทศที่มีความสำคัญมากในประเทศกำลังพัฒนาขนาดเล็ก • ความสมบูรณ์ของการผลิตและตลาดแรงงานที่มีการจ้างงานเต็มที่แล้ว • แรงงานส่วนใหญ่ของประเทศกำลังพัฒนามักอยู่ในภาคเกษตรที่มีการว่างงานแอบแฝงและเป็นฤดูการณ์ตามสภาพการผลิตของสินค้าเกษตร ทำให้อำนาจต่อรองกับนายจ้างไม่เป็นลักษณะเดียวกับแรงงานในประเทศพัฒนาแล้ว • ความพร้อมของตลาดการเงินที่มีเครื่องมือทางการเงินที่เพียบพร้อมและการปรับตัวที่ชัดเจน
ตัวอย่างคำถามเศรษฐศาสตร์มหภาคตัวอย่างคำถามเศรษฐศาสตร์มหภาค • การขยายตัวของเศรษฐกิจ (economic Growth) • เสถียรภาพของเศรษฐกิจ (Economic Stability) • ความสัมพันธ์ผลผลิต-การว่างงาน (Output-Unemployment Relationship) • การเพิ่มขึ้นของระดับราคา (Increase in Price Level) • การเพิ่มขึ้นของการว่างงาน (Increase of Unemployment Rate)
ข้อด้อยของการใช้ GDP • ไม่สามารถใช้วัดกิจกรรมนอกระบบเศรษฐกิจ (Non Economic Activities) เช่น แรงงานนอกระบบ แรงงานบ้าน การค้าขายที่ไม่ผ่านระบบตลาด เป็นต้น • ไม่สามารถวัดกิจกรรมใต้ดิน (Underground Economy) เช่น การค้ายาเสพติดและสิ่งผิดกฎหมาย การพนัน เป็นต้น • ไม่สามารถใช้วัดสวัสดิการของประชาชน (Welfare Measure) GDP เป็นเพียงการแสดงขนาดของระบบเศรษฐกิจ แต่ไม่ได้แสดงความกินดีอยู่ดีหรือคุณภาพชีวิตของประชาชน เช่นการไม่วัดความสุขการพักผ่อนของประชาชน แต่วัดรายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยว
ความสัมพันธ์ ของบัญชีรายได้ประชาชาติ GNP = GDP +/- ภาคต่างประเทศ NNP = GNP – ค่าเสื่อม (Depreciation) (Net NationalProduct) (สะท้อนต้นทุนในการผลิต) NI = NNP– ภาษีทางอ้อม (National Income) (Transfer Payment) PI = NI – Corporate Tax + เงินโอน + เงินสมทบกองทุนฯ + ดอกเบี้ยรับ (Personal Income) PDI = PI – Personal Income Tax +/- เงินโอนต่างประเทศ (Personal Disposable Income)
การวัดในรูปของมูลค่าแท้จริง (Real) และมูลค่าปัจจุบัน (Nominal) • Nominal GDP คือมูลค่า GDP ในปีปัจจุบันตามราคาตลาดที่รวมมูลค่าที่เกิดจากการเพิ่มหรือลดของสินค้าบริการที่ผลิตขึ้นในปีนั้น และยังรวมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากความผันผวนของราคา GDP = จากการผลิต X ของราคา • Real GDP คือการคิดหาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเพิ่มของปริมาณสินค้าและบริการเท่านั้น
การหาค่า มูลแท้จริงของ GDP (Real GDP) • โดยการเปรียบเทียบกับปีใดปีหนึ่งที่เลือกมาเป็นปีฐาน (Base Year) เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ ดูตัวอย่าง ปี Nominal Real Implicit GDP GDP GDP Deflator 1979 2,566.4 4,912.1 52.2 • 2,795.6 4,900.9 57.0 1990 5,803.2 6,707.9 86.5 1996 7,813.2 7,813.2 100.0 • 8,781.5 8,508.9 103.2 2001 10,082.2 9,215.9 109.4 2002 10,446.2 9,439.9 110.7
อะไรคือ Implicit GDP Deflator • คือสัดส่วนระหว่าง Nominal GDP และ Real GDP GDP Deflator = Nominal GDP Real GDP ดังนั้น Real GDP = Nominal GDP GDP Deflator
คำถามทบทวนท้ายเรื่อง • อะไรคือความหมายของ GDP, NNP, NI, PDI • สาเหตุอะไรที่ทำให้ NNP และ NI จึงแตกต่างกัน • มูลค่าแท้จริง (Real) และมูลค่าปัจจุบัน (Nominal) แตกต่างกันอย่างไร