120 likes | 287 Views
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส 404652062 กลุ่มพื้นฐานที่ 12. โรคและสาเหตุของโรค. -พบครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น -เชื้อสาเหตุ คือ JEV -เชื้อทำให้มีการอับเสบของระบบประสาทส่วนกลางและอื่นๆ -มียุงรำคาญ ( Culex ) เป็นภาหะ.
E N D
โรคไข้สมองอับเสบเจอีJapanese encephalitisเสนออาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลีจัดทำโดยน.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส 404652062กลุ่มพื้นฐานที่ 12
โรคและสาเหตุของโรค -พบครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น -เชื้อสาเหตุ คือ JEV -เชื้อทำให้มีการอับเสบของระบบประสาทส่วนกลางและอื่นๆ -มียุงรำคาญ (Culex) เป็นภาหะ
วงจรการติดต่อของเชื้อวงจรการติดต่อของเชื้อ -ติดเชื้อ JEV แพร่หลายในสุกร ม้า นก วัว ควาย และลิง -สุกรเป็นแหล่งเชื้อ(Ampilitier) -ในสัตว์ที่ติดเชื้อและมีอินมูนเกิดขึ้นจะไม่สามารถเป็น amplifierhost -สัตว์ต่างๆจะติดเชื้อ JEV โดยไม่ปรากฎอาการยกเว้นในสัตว์ตั้งท้อง
ยุงพาหะ(Culex) -เป็นยุงที่ชอบอยู่นอกบ้าน -พบบริเวณที่หญ้าขึ้นรก -มีแหล่งเพาะพันธุ์เป็นน้ำขุ่น,น้ำท่อระบายน้ำ,สระน้ำ,อ่างน้ำ -บินสูง 43-50 ฟุต บินไกล 1.5 กิโลเมตร
การติดเชื้อและผลที่เกิดขึ้นการติดเชื้อและผลที่เกิดขึ้น -เชื้อ JEV เข้าสู้ร่างกายทางผิวหนังเมื่อยุงที่มีเชื้อมากัดดูดเลือด -เกิดเยื้อหุ้มสมองอับเสบภายในจะมีจุดเลือดออก -เซลล์ประสาทเสื่อมสลาย
อาการของโรค -มี 3 อาการสำคัญคือ ไข้สูง ปวดศีรษะ ไม่รู้สึกตัว -อาการสมองอับเสบมี 3 ประการ •ระยะอาการนำ(prodromal) •ระยะสมองอับเสบเฉียบพลัน(acute encephalitic stage) •ระยะหลังโรคและภาวะแทรกซ้อน(late stage และ sequelae) -ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่มีอาการมีเพียง 1 ใน 300-500คนที่มีอาการ
โรคแทรกซ้อนเกิดในเด็กโรคแทรกซ้อนเกิดในเด็ก -ปวดบวม -ทางเดินปัสสาวะอับเสบ -เกิดแผลกดทับ
ภูมิคุมกันโรค เกิดขึ้นจากการใช้วัคซีนป้องกันโรค -วัคซีนของสัตว์มีทั้งวัคซีนเชื้อตาย(inactivated vaccing)และวัคซีนเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์(live attenuated vaccing) -วัคซีนของคนเป็นวัคซีนเชื้อตาย ซึ่งเตรียมจากสมองหนูแรกเกิด -วัคซีนเชื้อตาย ผลิตจากสมองหนูมี 2 ชนิด คือ ชนิดน้ำ และชนิดแห้ง ผลิตจากสายพันธุ์ JEP3 เพาะเลี้ยงในเซลล์ไตของแฮมสเตอร์
ภูมิคุมกันโรค (ต่อ) -วัคซีนเชื้อเป็น ผลิตจากไตเพาะเลี้ยงจากแฮมเตอร์และจากไข่ไก่ฟัก -ข้อควรระวังในการให้วัคซีน • เด็กมีไข้สูง • เด็กมีประวัติแพ้ยา อาหาร วัคซีนอย่างรุนแรง • เด็กมีประวัติชัก • หญิงมีครรภ์
การวินิจฉัยโรค -การตรวจจากตัวอย่างโดยตรง •การตรวจหาแอนติเจนของไวรัสในชิ้นเนื้อสมอง จากศพ •การตรวจหาแอดติเจนในน้ำไขสันหลัง •การตรวจหาจีโนมของไวรัสในน้ำไขสันหลัง -การแยกเชื้อ -การตรวจหาแอนติบอดี -การตรวจหา IGM จำเพาะในน้ำไขสันหลัง
การรักษาป้องกันและควบคุมการรักษาป้องกันและควบคุม -การรักษายังไม่มียาเฉพาะ -การควบคุมสัตว์เลี้ยงที่สามารถแพร่พันธุ์เชื้อ -ควบคุมยุงที่เป็นพาหะนำโรค -ป้องกันไม่ให้ยุงกัด -การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในคน และสัตว์เลี้ยง -ใช้มาตรการสาธารณสุข
ระบาดวิทยา -พบในประเทศแถบเอเชีย -ประเทศไทยพบครั้งแรกปี พ.ศ. 2512 ที่ จังหวัดเชียงใหม่ -ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอายุ0น้อยกว่า 15ปี -พบมากในกลุ่มอายุ 5-9 ปี -พบมากในฤดูฝน