280 likes | 479 Views
การประชุมมอบแนวทางการปฏิบัติงาน แด่ คณะครู เพื่อความปรองดองสมานฉันท์ จังหวัดภูเก็ต. “ ครู สร้าง คน สู่ประชาธิปไตย”. วันพฤหัสบดี ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ โรงแรมเมโทร โพล จังหวัดภูเก็ต. 1. จาก “ปรองดอง” สู่ “ปฏิรูป”. 7. ส. กับ “ คสช ” คืนความสุข ให้แก่คนในชาติ.
E N D
การประชุมมอบแนวทางการปฏิบัติงาน แด่ คณะครู เพื่อความปรองดองสมานฉันท์ จังหวัดภูเก็ต “ครูสร้างคน สู่ประชาธิปไตย” วันพฤหัสบดี ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ โรงแรมเมโทรโพล จังหวัดภูเก็ต
1 จาก “ปรองดอง” สู่“ปฏิรูป”
7 • ส. กับ “คสช” คืนความสุขให้แก่คนในชาติ • 1. สุขให้คนในชาติ • 2. สลายความขัดแย้ง 4. สร้างความสามัคคีปรองดอง • 3. สัมพันธภาพรอบด้าน • 5. สมานฉันท์ทุกหมู่เหล่า • 6. สัมผัสชีวิตรากแก้ว • 7. สนองบุญคุณแผ่นดิน
วัตถุประสงค์ 1. สร้างความเป็นพลเมืองดีให้เกิดขึ้น 2. ลดความขัดแย้งในสังคม ชุมชน ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยก ความสามัคคี 3. สร้างความเข้าใจ ให้เกิดความปรองดองสมานฉันท์ ในทุกภาคี 4. ส่งเสริมให้ดำรงชีวิตบนความพอเพียง และน้อมนำโครงการพระราชดำริ 5. พัฒนากระบวนการเมืองการปกครองสู่การปฎิรูป
เป้าหมาย: สังคมภูเก็ต หันหน้า พูดคุยเปิดใจ รับฟัง ข้อมูล ข่าวสารของแต่ละฝ่าย ด้วยความบริสุทธิ์ใจ จนบังเกิดเป็น ผลสัมฤทธิ์ 3 ป. 1. ปรองดองสมานฉันท์ 2. ปฏิรูปสังคม 3. ประชาธิปไตย สมบูรณ์แบบ
2 ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปจังหวัดภูเก็ตศปป.ภก.
แนวทางการปฏิบัติของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปจังหวัดภูเก็ต-ศปป.ภก.แนวทางการปฏิบัติของศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูปจังหวัดภูเก็ต-ศปป.ภก. (Reconciliation Center of Phuket Province – RCPP) มีคณะกรรมการ + การปฏิบัติการ 1 • ภูมิภาค • ท้องถิ่น • เอกชน • ประชาสังคม • สถาบันการศึกษา • ทำโครงการ • จัดกิจกรรมให้ • สอดคล้องกับ • แนวทาง ศปป. • จังหวัด 2 ขอทุกหน่วย 3 ประยุกต์กับแผน/โครงการ ที่วางไว้ ให้สอดคล้อง ศปป. • ร่วมคุย สร้างสัมพันธ์ภาพ • ร่วมคิด สร้างสามัคคี • ร่วมทำ สร้างสังคมปรองดอง ตอบโจทย์ 3ร่วม + 3 สร้าง 4
การดำเนินการ 1 ร่วมคุย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อ “สร้างสัมพันธภาพ” ร่วมคิด ระดมสมอง เพื่อ “สร้างสามัคคี” 2 3 ร่วมทำ เพื่อ “สร้างสังคมปรองดอง”สมานฉันท์ในทุกระดับ
แนวทางการปฏิบัติกิจกรรมปรองดองสมานฉันท์แนวทางการปฏิบัติกิจกรรมปรองดองสมานฉันท์ เพื่อการปฏิรูปจังหวัดภูเก็ต (ศปป.ภก.) กิจกรรมที่ดำเนินการ 1. กิจกรรมของภาคส่วนต่างๆ โดยแบ่งเนื้องานเป็น L-M-S 2. จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่าง ๆ 2.1 จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ติดหน้าหน่วยงาน เช่น อำเภอ อปท. ฯลฯ 2.2 จัดทำเอกสาร แผ่นปลิว โบรว์ชัวร์ เป็นต้น ให้รายงานผลการปฏิบัติงาน โดยจัดส่งที่ทำการปกครองจังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ / โทรสาร ๐-๗๖๒๒-๔๘๒๒ 3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน
3 การสร้างพลเมืองภูเก็ตบนสังคมประชาธิปไตย
คำปฏิญาณในกิจกรรมสร้างปรองดองสมานฉันท์ ของ ศปป.ภก. ข้าพเจ้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ จนกว่าชีวิตจะหาไม่ 1 ข้าพเจ้าจะปฏิบัติหน้าที่พลเมืองดี และสนองบุญคุณแผ่นดินทุกโอกาส 2 ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตามพระบรมราโชวาท น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิถีแห่งการครองตน 3 ข้าพเจ้าจะไม่แตกแยก แตกร้าว แตกสามัคคี ในครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ แต่จะสร้างความรัก ความปรองดอง สามัคคีสมานฉันท์ ให้ปรากฏ จะมีความเมตตา ปรารถนาดี มีมิตรไมตรี ต่อทุกคน 4 ข้าพเจ้าจะยึดถือคุณธรรม จริยธรรม สุจริตธรรม สามัคคีธรรม เที่ยงธรรม และธรรมาภิบาลในการครองตนตลอดไป 5
เสวนาปัญหาสู่ความปรองดองสมานฉันท์ ในชุมชน 2 ครอบครัว 1 การไม่ปรองดองแตกแยก ชุมชน ปัญหาการเมือง (และการบริหารการปกครอง) การแบ่งฝ่ายแบ่งพวก แบ่งสีเสื้อ ปัญหาบ้านเมือง ยาเสพติด นักการเมือง แสวงหาประโยชน์ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ธรรมาภิบาลในองค์การปกครองท้องถิ่น ในระยะที่สอง ในระยะแรก อุบัติภัย-อุบัติเหตุ เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่สุจริต ผู้มีอิทธิพล การบังคับใช้กฎหมาย (กฎหมาย-กฎหมู่) การบุกรุกที่ป่า-ชายหาด จากชาวต่างชาติ-นักท่องเที่ยว การจัดการปกครองตนเอง ลดความเหลื่อมล้ำ
7 ภาคีที่ต้องผูกโยงเป็น “หนึ่ง” ในพื้นที่ All in one & One in All ราชการ เอกชน การเมือง อยู่ด้วยความปรองดอง 7 ภาคี “รู้รัก สามัคคี” ท้องถิ่น สื่อมวลชน วิชาการ ประชาสังคม
ก้าวสู่ความเป็น “พลเมืองดี” เราต้องสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพก่อน พลเมืองดี ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้ดี SmartCitizen • รู้สิทธิ ปฏิบัติ • หน้าที่ • มีคุณธรรม • จริยธรรม • คำนึงประโยชน์ • ส่วนรวมมากกว่า • ส่วนตน • ตื่นตัว ใฝ่รู้ พื้นฐานของการสร้างสังคมประชาธิปไตย
สร้างวินัย “(Discipline”) • เป็นพื้นฐานของการสร้างสังคม • - จากเด็ก >> เยาวชน>>ผู้ใหญ่ • - วินัยเป็นเครื่องกำกับการปฏิบัติตน + ปฏิบัติงาน วินัย ตรง เดิน ตรงไปตรงมา เดินทางตรง • ตรงกฎ กติกา เดินตรงทาง ตรงหน้าที่จรรยา เดินตรงกลาง ตรงเวลา นาที เดินตัวตรง
ความประพฤติของคนดี ที่นำไปสู่การปรองดอง • 1. ไม่โจมตีกล่าวร้าย 2. มีเหตุมีผล • 3. ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น • 4. มองความผิดพลาดของตนเป็นสำคัญ • 5. เสียสละต่อส่วนรวม ไม่มุ่งประโยชน์ส่วนตัว • 6.ไม่ยกตนข่มท่าน • 7. ไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา • 8. ไม่ยุยงปลุกปั่นให้ขัดแย้งร้าวฉาน 9. ไม่ใช้เงินหว่านทุ่มซื้อ
“11 ไม่”ที่ต้อง ไม่ปฏิบัติตนในสังคมสมานฉันท์ • 1. ละเมิดกฎหมาย • 7. หลบเลี่ยงหลีกหนี • 2. ข่มเหงรังแก • 8. ทับซ้อน หมักหมม • 3. เอารัดเอาเปรียบ • 9. บุกรุกครอบครอง • 4. วิ่งเต้นเส้นสาย • 10. หลอกลวงเบียดเบียน • 5. เจ้าใหญ่นายโต • 6. อภิสิทธิ์อิทธิพล • 11. เล่ห์กลสารพัน
เคารพและปฏิบัติสิ่งที่พลเมืองดีพึงกระทำเคารพและปฏิบัติสิ่งที่พลเมืองดีพึงกระทำ • 1. Right สิทธิ 4. Regulation ระเบียบแบบแผน 2. Responsibility หน้าที่และความรับผิดชอบ 5. Law กฎหมาย 3. Rule กฎกติกา 6. Order คำสั่งทางราชการ
สุด ที่ไม่ต้อง “สุด” การจะปรองดอง สมานฉันท์ ไม่ควร ทำอะไรที่..... 1.สุดโต่ง 2. สุดขั้ว 3. สุดสายป่าน 4. สุดฤทธิ์ สุดเดช 5. สุดสุด คิดพอเพียง • 1. พอประมาณ • 2. มีเหตุผล 3. มีภูมิคุ้มกัน
สิ่งที่...อย่าให้มีในหมู่บ้าน/ชุมชนสมานฉันท์สิ่งที่...อย่าให้มีในหมู่บ้าน/ชุมชนสมานฉันท์ 3 แตก 3 อา... แตกแยก อารมณ์ แตกร้าว อาฆาต แตกสามัคคี • อาวุธ
7 • “ ปลอด”ในสังคม–หมู่บ้าน–ชุมชน “สู่ความสงบสุข” 1. ปลอดยาเสพติด 2. ปลอดทุจริต...ซื้อสิทธิขายเสียง 3. ปลอดภัยในชีวิต...และทรัพย์สิน 4. ปลอดอุบัติภัย อุบัติเหตุ 5. ปลอดตัดไม้ทำลายป่า 6. ปลอดสารพิษ 7. ปลอดอบายมุข
7“อ.” คาถาอบรมเด็ก และเยาวชนเป็นคนดี 3 อดออม 1.อดทน 2. อดกลั้น 7 อโรคยา 4 อ่อนน้อม 5 เอาใจเขามาใส่ใจเรา 6 อภัย
ต้อง ขอร้อง และ ร้องขอ อาสา เข้ามาทำงานการเมือง ถ้าใครไม่มีวินัย อย่า ถ้าใครคิดจะเบียดเบียน อย่า บากหน้าเข้าสู่ วงการเมือง ถ้าใครมุ่งแสวงประโยชน์ อย่า ลงสมัครเลือกตั้งทุกระดับ
“ ค” ฝ่ายการเมืองที่พึงประสงค์ 7 คน ...คนดี คนงามคนสะอาด 1 • ความ ...ความพอเพียง ความซื่อสัตย์ ความถูกต้อง เป็นธรรม • ความเพียร ความมีจรรยาบรรณ 2 • คิด ...คิดอ่าน คิดกว้าง คิดไกล 3 คม ...คมชัด คมวาทะ คมคาย และคมสัน 4 ครอบ ...ครอบครัวดี มีความพร้อม • คุณ ...คุณภาพ คุณประโยชน์ 6 5 คารวะ ...มีคารวคุณ เคารพซึ่งกันและกัน 7
7ปฏิรูปการเมืองและสังคม… จาก A ถึง G A : การมีพลเมืองที่ตื่นตัวเข้มแข็ง (Action Citizen) B : การปฏิรูประบบราชการและการบริหาร (Bureaucratic Reform) C : มีนักการเมืองที่สะอาดสุจริต (Clean Politician) D : พัฒนาขยายผลปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติและเป็นวิถีไทย.. (Developing Sufficiency Economy) E : สร้างความมั่นใจและเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ (Economy of Confidence and Trust) F : จัดการเลือกตั้งที่บริสุทธิ์ยุติธรรม (Free and Fair Election) G : สร้างธรรมาภิบาลในทุกมิติของการจัดการ และวิถีชีวิต(Good Governance)
ข้าราชการมืออาชีพ 1 ซื่อสัตย์ สุจริต เป็นเกราะกำบัง ยึดถือชาวบ้านเป็นศูนย์กลาง ประโยชน์สุขประชาชนเป็นที่ตั้ง บูรณาการสานสัมพันธ์ราชการ มีวินัยและจรรยาบรรณราชการ บริการประชาชนด้วยความรวดเร็ว เท่าเทียมกัน สร้างความโปร่งใส พร้อมให้ตรวจสอบ มีมาตรฐานการทำงานสู่สากล 2 3 4 5 6 7