550 likes | 929 Views
Corporate Social Responsibility. Mayookapan Chaimankong Mayookapanc@hotmail.com. Corporate Social Responsibility. Discussion: 1) รูปแบบ CSR ที่ท่านเคยเห็น 2) Motive ของ Firm ที่ทำ CSR ดังกล่าว 3) ภาพรวมท่านคิดเห็นต่อ CSR ที่ยกตัวอย่างมาอย่างไร. บรรษัทภิบาล.
E N D
Corporate Social Responsibility MayookapanChaimankong Mayookapanc@hotmail.com
Corporate Social Responsibility Discussion: 1) รูปแบบ CSR ที่ท่านเคยเห็น 2) Motive ของ Firm ที่ทำ CSR ดังกล่าว 3) ภาพรวมท่านคิดเห็นต่อ CSR ที่ยกตัวอย่างมาอย่างไร
บรรษัทภิบาล ผู้ถือหุ้นผู้บริหารพนักงาน บรรษัทบริบาล ลูกค้า คู่ค้า ครอบครัวของพนักงานชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่สิ่งแวดล้อมรอบข้าง ประชาชนทั่วไป คู่แข่งขันทางธุรกิจ CSR VS CG Source: สถาบันไทยพัฒน์
Defining CSR • What is CSR? • Lack of a widely agreed definition
Defining CSR: CSR as an ethical stance • Mintzberg stated that CSR can be practised in four forms 1) Purest form: Firm expects nothing back 2) Enlightened self interest: Undertake CSR with the belief that CSR pay 3) Sound investment: Undertake CSR will be rewarded by the market 4) Avoid Interference: Prevent authorities forcing them to do so via legislation
Defining CSR: CSR as an ethical stance • Apart from the purest form, Mintzberg sees the others not as ethical stance as it raises greed • The proponents of this view include Moore (2003), Goyder (2003) and Jone (2003)
Defining CSR: CSR as business strategy • Ideas originates from Agency Theory • Agency Theory: managers are agents of the stockholders and should therefore give priority to serving them by maximize financial gains • Implication: manager should not engage in any acts that deteriorate shareholder wealth • Friedman (1970) and Henderson (2001, 2004) have argued that CSR is a dangerous concept as its threaten the basic of principle of market economy
Defining CSR: CSR as business strategy • Many others believe that CSR can become a useful tool to maximize shareholders wealth • Lantos (2001, 2002) purposed that CSR should focused on two aspects 1) Prevent injuries and harm form business activities 2) Accomplishing strategic business goals
Defining CSR: CSR as business strategy • Carroll (1979) purpose ‘Four faces’ of responsibility to fully address the entire range of obligations business has to society • Economic: the first and foremost responsibility • Legal: obligation to abide the law • Ethical: Doing beyond law requirement • Discretionary: Philanthropic contribution • Firm will use CSR to devise a strategy to enhance overall business performance
Defining CSR: CSR as business strategy • Schwartz and Carroll (2003) purpose ‘Three domain model’ which built upon Carroll pyramid model • Discretionary is disappeared as the author believe that discretionary is an option, not obligation. However discretionary acts can be undertaken for economic and ethical motive (i.e. strategically) • They argued that the best business strategy lies in the overlap area
Three domain model: The multiple responsibilities of business
CSR: Serving Stakeholders • Regardless of the views, the way stakeholders are treat take central stage. • CSR as Ethical stance: The company treat stakeholder ethically due to the belief that it is a noble way to behave • CSR as Strategy: Stakeholder are treated ethically to make business prosper
The Evolving Idea of Social Responsibility • The fundamental idea is that corporations have duties that go beyond carrying out their basic economic function in a lawful manner. • Over time the doctrine has evolved to require more expansive action by companies largely because: • Stakeholder groups have gained more power to impose their agendas • The ethical and legal philosophies underlying it have matured
Social Responsibility in Classical Economic Theory • Adam Smith introduced the expression of “ invisible hand” in 1770s • Invisible hand brought about economic prosperity and social benefits even though their real intentions were the pursuit of self-interest. In other words, Social welfare is the by-product of capitalist activities • Implication: Firm operating to maximize profit within the law.
The beginning of CSR • In US, the idea of CSR appeared around the 19th Century. Firms came under attack for being to big, too powerful, and guilty of antisocial practices • A few far farsighted business executive began to use their power for broad social purpose
The Early Charitable Impulse • Steven Girard changed the climate of education in the United States by donating $6 million for a school to educate orphaned boys. • John D. Rockefeller systematically gave away $550 million over his lifetime. • Henry Ford developed paternalistic programs to support the recreational and health needs of his employees
The Early Charitable Impulse • Andrew Carnegie gave $350 million over his lifetime to causes that would elevate the culture of a society.
Two traditional principle of CSR • The Charitable principle: the wealthier members of society should be charitable toward those less fortunate • The Stewardship principle: Act as stewards or trustees, act in general public interest
CSR in Thailand ผลจากรายงาน "สำรวจสถานการณ์ CSR ในประเทศไทยปี พ.ศ.2549 ผ่านการประชาสัมพันธ์จากนิตยสาร Positioning หัวข้อ CSR ของ "โชษิตา ตันฉาย“ • รูปแบบของ cause philanthropy หรือการบริจาคถูกนำมาใช้มากที่สุดในปี พ.ศ.2549 คิดเป็น 52.5% • รองลงมาคือ รูปแบบ cause promotion หรือ การส่งเสริมการตลาดผ่านกิจกรรมเพื่อสังคม 29.6% • ตามด้วย corporate social marketing การสนับสนุนโครงการที่ทำให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในเรื่องที่เกิดประโยชน์ต่อสังคม โดยใช้ส่วนผสมทางการตลาดและการสื่อสาร 9.5% • cause related marketing การบริจาคเงินจากส่วนแบ่งของสินค้าภายในช่วงเวลาที่กำหนดให้กับสังคม 9.5%
CSR in Thailand • socially responsible business practice การลงทุนหรือการเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานของบริษัทเพื่อแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในทุกกระบวนการขององค์กร ตั้งแต่การดูแลพนักงาน จนถึงกระบวนการผลิต และการดำเนินงานที่โปร่งใส 2.2% • community volunteering กิจกรรมพนักงานอาสาสมัคร 0.6%
Cause Promotions Provides funds, in-kind contributions, or other organization resources to increase awareness and concern about a social cause
Cause Related Marketing Commits to making a contribution or donating a percentage of revenues to a specific cause based on product sales e.g. donate 10% of the price of each product sold
Cause Related Marketing RED Campaign Example It is the first time that the world’s leading companies have made a commitment to channel a portion of their profits from sales of specially-designed products to the Global Fund to support AIDS programs for women and children in Africa.
Social Marketing Supports the development and/or implementation of a behavior change campaign e.g. Non-smoking campaign, No plastic bag
Corporate Philanthropy Makes a direct contribution to a charity or cause, most often in the form of cash grant, donations and/or in-kind service
Community Volunteering Supports and encourages employees, retail partners, and/or franchise members to volunteer their time to support local community organization and causes
Socially responsible business practices Adopts and conducts discretionary business practices and investments that support social causes to improve community well-being and protect the environment e.g. community trade, environmental friendly process
Socially responsible business practices Starbucks example
CSR Classification (By process) CSR after process: CSR that separated from business operation Legitimacy CSR in Process: Incorporate social responsibility in business operation CSR as Process: non profit organization
CSR Classification (By Resource) Corporate driven CSR: CSR that use the resource from within e.g. employee volunteers Social Driven CSR: CSR that use the resource from outside e.g. cause related promotion
Corporate Social Responsibility Guideline and standards • There are number of CSR guideline and standards (Both International & Local) - UN Global compact - OECD - ISO 26000 - SEC เข็มทิศธุรกิจ Responsibility Guidelines
The United Nations and the Global Compact • The Global Compact is a way of getting companies to voluntarily apply widely agreed upon principles to individual situations. Global Compact A set of 10 voluntary principles based on international norms administered by the United Nations. Member companies are to follow the principles in every country in which they do business.
เข็มทิศธุรกิจResponsibility Guidelines สำหรับแนวปฏิบัติในเรื่อง CSR แบ่งได้เป็น 8 หัวข้อ ดังนี้ 1. การกำกับดูแลกิจการที่ดี 2. การประกอบุรกิจด้วยความเป็นธรรม 3. การเคารพสิทธิและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม 4. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 5. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม 6. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 7. การเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำเนินความรับผิดชอบต่อสังคม 8. การจัดทำรายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
เข็มทิศธุรกิจResponsibility Guidelines 1. การกำกับดูแลกิจการที่ดี หลักการ การกำกับดูแลกิจการที่ดี เป็นการจัดให้มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นใจต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ซึ่งนำไปสู่ความเติบโตและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของธุรกิจ 2. การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม หลักการ การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรมย่อมก่อให้เกิดความเชื่อมั่นกับผู้เกี่ยวข้อง อันจะส่งผลดีต่อกิจการในระยะยาว ทั้งนี้ ธุรกิจควรถือปฏิบัติตามแนวทางเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการดำเนินธุรกิจ โดยไม่เห็นแก่ผลประโยชน์อื่นที่อาจได้มาจากการดำเนินงานที่ไม่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
เข็มทิศธุรกิจResponsibility Guidelines 3. การเคารพสิทธิและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม หลักการ ทรัพยากรบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญของธุรกิจในการสร้างมูลค่าเพิ่มและเพิ่มผลผลิต ดังนั้น ธุรกิจควรปรับปรุงสภาพแวดล้อมและเงื่อนไขในการทำงาน ให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้มีโอกาสแสดงศักยภาพ ตลอดจนได้รับโอกาสในการฝึกฝนและเพิ่มพูนทักษะในการทำงาน 4. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค หลักการ สินค้า และ/หรือ บริการของธุรกิจไม่ควรก่อให้เกิดความเสี่ยงหรืออันตรายต่อผู้บริโภค ทั้งนี้ ธุรกิจควรปรับปรุงมาตรฐานของสินค้า และ/หรือบริการให้มีความเป็นสากลและให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ รวมทั้งควรพัฒนาสินค้า และ/หรือบริการเพื่อเป็นประโยชน์ในการช่วยแก้ไขปัญหาของสังคมด้วย
Responsibility Guidelines 5. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม หลักการ ชุมชนและสังคมที่เข้มแข็ง และมีการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น มีความสำคัญยิ่งในฐานะเป็น ปัจจัยเอื้อต่อการดำเนินงานของธุรกิจ ดังนั้น ธุรกิจควรจัดกิจกรรมทางสังคม และ/หรือ มีส่วนร่วมในการส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากกระบวนการผลิตสินค้าและ/หรือ บริการของธุรกิจโดยการแสดงตัวเป็นพลเมืองที่ดีของชุมชนนั้น พร้อมกับคิดค้นวิธีการที่จะลดและหยุดผลกระทบในทางลบต่อชุมชนและสังคม ที่เกิดจากกระบวนการดำเนินงานของธุรกิจในที่สุด 6. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม หลักการ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรโลก บวกกับปัจจัยความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นอกจากเป็นสาเหตุของการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติจำนวนมหาศาลจนเกินกว่าความจำเป็นยังก่อให้เกิดมลภาวะทั้งทางน้ำ อากาศ ขยะ สารพิษ ฯลฯ ซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อนตามมาโดยภาวะโลกร้อนดังกล่าวจะกระทบต่อมนุษย์และระบบนิเวศน์ต่อไป ดังนั้น ธุรกิจจึงมีหน้าที่ในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตมนุษย์ด้วยการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยถือว่าการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นหน้าที่ร่วมกันของทุกคน
Responsibility Guidelines 7. การเผยแพร่นวัตกรรมจากการดำเนินความรับผิดชอบต่อสังคม หลักการ ในการดำเนินธุรกิจสามารถนำแนวคิด CSR มาประยุกต์ผสมผสานกับการวางแผน กลยุทธ์ทางธุรกิจได้อย่างกลมกลืน โดยการพัฒนาความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์การดำเนินงานด้าน CSR และนำมาปรับใช้ คิดค้นให้เกิดนวัตกรรมในธุรกิจที่สามารถสร้างประโยชน์สูงสุดทั้งต่อธุรกิจและสังคมไปพร้อม ๆ กัน (innovative business 8. การจัดทำรายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม หลักการ ธุรกิจควรให้ความสำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นการปฏิบัติตามแนวทาง CSR ที่กล่าวมาอย่างครบถ้วน โดยข้อมูลที่เปิดเผยนี้นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย(stakeholders) ทุกฝ่ายแล้ว ยังช่วยในการสอบทานให้ธุรกิจทราบได้ว่า ได้ดำเนินการในเรื่อง CSRตรงกับเป้าหมายที่วางไว้
Responsibility Guidelines 8. การจัดทำรายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
ISO 26000 • ISO 26000 ได้เริ่มมีการพิจารณาตั้งแต่ พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา และคาดว่าจะประกาศใช้ภายในปี พ.ศ. 2553 จะเป็นเอกสารคำแนะนำ (guidance document) ที่ทั้งภาครัฐและเอกชนพึงถือปฏิบัติ โดยจัดทำจากความคิดความเห็นขององค์กรต่างๆ ทั่วโลก มุ่งเน้นที่ประโยชน์ต่อสังคมและคุณภาพชีวิตของประชากรครอบคลุมถึงแนวทางการจัดการสังคมใน 5 ประเด็น ได้แก่ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ ความปลอดภัย การใช้แรงงาน และหลักจริยธรรมในการบริหารจัดการองค์กร
ISO 26000 • องค์ประกอบของความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคมนั้นมีองค์ประกอบหลากหลาย ซึ่งใน ISO 26000 ได้กำหนดองค์ประกอบหลักของความรับผิดชอบไว้ 7 ประการ ดังนี้ 1.มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Organization governance)กล่าวคือ องค์กรควรกำหนดหน้าที่ให้คณะกรรมการฝ่ายจัดการ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถสอดส่องดูแลผลงานและการปฏิบัติงานขององค์กรได้ เพื่อแสดงถึงความโปร่งใส พร้อมรับการตรวจสอบ และสามารถชี้แจงให้ผู้มีส่วนได้เสียได้รับทราบถึงผลการปฏิบัติงานได้ 2.คำนึงถึงสิทธิมนุษยชน (Human rights) ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ โดยสิทธิดังกล่าวควรครอบคลุมถึงสิทธิความเป็นพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศด้วย
ISO 26000 3.ข้อปฏิบัติด้านแรงงาน (Labor practices) องค์กรต้องตะหนักว่าแรงงานไม่ใช่สินค้า ดังนั้นแรงงานจึงไม่ควรถูกปฏิบัติเสมือนเป็นปัจจัยการผลิต 4.การดูแลสิ่งแวดล้อม (Environment)องค์กรจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงหลักการป้องกันปัญหามลพิษการบริโภคอย่างยั่งยืน (Sustainable consumption) และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในการดำเนินการผลิตและบริการ 5.การดำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม (Fair operating practices) องค์กรต่างๆ ควรแข่งขันกันอย่างเป็นธรรมและเปิดกว้าง ซึ่งจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการลดต้นทุนสินค้าและบริการ นวัตกรรมการพัฒนาสินค้าหรือกระบวนการใหม่ๆ รวมถึงจะช่วยขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพในระยะยาว
ISO 26000 6.ใส่ใจต่อผู้บริโภค (Consumer issues) องค์กรจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้บริโภคได้รับทราบข้อมูลในการใช้สินค้าและบริการอย่างเหมาะสม ทั้งยังต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาสินค้าและบริการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้งานและสุขภาพของผู้บริโภค นอกจากนี้เมื่อพบว่าสินค้าไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด องค์กรก็จะต้องมีกลไกในการเรียกคืนสินค้า พร้อมทั้งยังต้องให้ความสำคัญกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค และถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอีกด้วย 7.การแบ่งปันสู่สังคมและชุมชน (Contribution to the community and society)