1 / 222

สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ โรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ

สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ โรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ. วันที่ 2 3- 2 4 เมษายน 255 4 ประเทศ ฮ่องกง. หลักสูตรโรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ. วันที่ 23-24 เมษายน 2554 ประเทศฮ่องกง

shea-leon
Download Presentation

สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ โรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ • โรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ วันที่ 23-24 เมษายน 2554 ประเทศฮ่องกง หลักสูตรโรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ

  2. วันที่ 23-24 เมษายน 2554 ประเทศฮ่องกง _ _____________________________________________________________________________________________________________________________--___ • หลักสูตรโรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ

  3. ***** *************************************************************************** พิธีกร.....กล่าวต้อนรับ • .....แครอล ซาเลสกี้ ประธานเหรัญญิก สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ • โซเรน คอร์โบ เลขานุการกิตติมศักดิ์เหรัญญิก สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ **************************************************************************** FINA 101 : ผู้เข้าร่วมสัมมนา แนะนำตัว ต่อสมาชิกภาคีผู้เข้าร่วมในครั้งนี้

  4. หลักสูตรโรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ สมาชิกแต่ละชาติ แนะนำตัว

  5. หลักสูตรโรงเรียนกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ เนื้อหาในหลักสูตร

  6. วัตถุประสงค์ เพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ ปริมาณของเจ้าหน้าที่ กรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำน้ำ เพื่อให้มีคุณสมบัติ มาตรฐานสากล ของกรรมการผู้ตัดสิน เพื่อเป็นสื่อ ในการพัฒนากีฬาว่ายน้ำให้กว้างขวาง มากยิ่งขึ้น

  7. ส่งเสริม สนับสนุน กีฬาว่ายน้ำเป็นที่สนใจ รู้จักมากยิ่งขึ้น เพื่อให้มองเห็นถึงความก้าวหน้า ผลประโยชน์ของการว่ายน้ำ และเป็นที่สนใจในกีฬาว่ายน้ำมากยิ่งขึ้น ช่วยทำให้ร่างกายมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ทำให้การจัดการแข่งขันว่ายน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีความยุติธรรม และแน่วแน่ในการปฏิบัติหน้าที่ พัฒนาด้านทักษะต่างอาทิ

  8. พัฒนาด้านทักษะ ด้านความปลอดภัยทางน้ำ สร้างความมีวินัยที่ดี มีการดำเนินการอย่างมีแบบแผน มีความยุติธรรมและเคารพซึ่งกันและกัน

  9. การเตรียมการแข่งขันโดยให้โอกาสการเตรียมการแข่งขันโดยให้โอกาส แสดงความสามารถกับทุกๆคน กรรมการผู้ตัดสินเป็นผู้ที่ให้โอกาสในการช่วยเหลือ สนับสนุนการตัดสินได้ในหลายๆทาง

  10. กรรมการผู้ตัดสินเป็นผู้ที่ให้โอกาสในการช่วยเหลือ สนับสนุนการตัดสินได้ในหลายๆทาง ส่งเสริมสนับสนุนในด้านต่างๆ ขยายโอกาสต่างๆ การฝึกอบรม ความรู้ ประสบการณ์ รักษาความซื่อสัตย์ จริงใจ และความเป็นบูรณาการ เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม ยอมรับในการตัดสินเป็นอย่างดี แสดงให้เห็นว่า มีความมั่นใจและเด็ดขาด พิสูจน์ให้เห็นว่ามีความมุ่งมั่น ตั้งใจในการทำงาน ยอมรับเมื่อตัดสินผิดพลาด

  11. การเข้าสู่ในการตัดสินการเข้าสู่ในการตัดสิน เพราะเหตุใด ต้องมาทำหน้าที่ตัดสิน เรามาทำงานที่นี่เพื่อลูกชายหรือลูกสาว? ทำเพื่ออยากทำของตัวเอง,จุดมุ่งหมายส่วนตัว,ชอบ,ไม่ชอบ,ด้วยความรู้สึกส่วนตัว,อคติ ? ด้วยเหตุผลอื่นๆ

  12. การอบรมของเจ้าหน้าที่และคุณค่าที่ได้รับการอบรมของเจ้าหน้าที่และคุณค่าที่ได้รับ เราทำหน้าที่เพื่อนักกีฬาว่ายน้ำ เราทำเพื่อให้เยาวชนมีพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ทำให้เขามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกัน จุดหมายของเราคือ การแสดงออกความมีระเบียบวินัยและความมุมานะของเยาวชน เราจำเป็นต้องมีโรงเรียนเพื่อให้ความรู้

  13. ช่วยให้เยาวชนได้เรียนรู้และยอมรับในคำตัดสินช่วยให้เยาวชนได้เรียนรู้และยอมรับในคำตัดสิน จากประสบการณ์ที่ได้รับมาทุกๆด้าน ทั้งที่ดีและไม่ดี สามารถปรับเปลี่ยนเรียนรู้ในทางที่ดีได้ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่ทุกคนควรรักษาไว้ในเป้าหมาย ของความสำนึกในความรับผิดชอบในหน้าที่ ต่อนักกีฬาทุกคน

  14. FINA – Organized July 19, 1908 การจัดตั้งองค์กรของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ(FINA)

  15. สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ(FINA) จัดตั้งป็นองค์กร เมื่อวันที่ 19 กรกฏาคม 2451 ที่โรงแรมเชสเตอร์ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ประเทศที่เริ่มการก่อตั้งเข้าเป็นสหพันธ์: - เบลเยี่ยม เดนมาร์ค ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ ฮังการี และสวีเดน

  16. จุดมุ่งหมายเบื้องต้น •  เพื่อวางกฏ ระเบียบ กติกาการแข่งขัน สำหรับกีฬาทางน้ำ อาทิ ว่ายน้ำ กระโดดน้ำ โปโลน้ำ ระบำใต้น้ำ และว่ายน้ำมาราธอน เพื่อดำเนินการจัดการแข่งขันในระดับนานาชาติ รวมถึงการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคเกมส์ เป็นการส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาการทางด้านกีฬา ให้เป็นที่กว้างขวางมากยิ่งขึ้น

  17. Governance of FINA ตำแหน่งคณะกรรมการของฟีน่า สหพันธ์กรรมการใหญ่ กรรมการฝ่ายเทคนิค สำนักงาน ฟีน่า คณะกรรมการฝ่ายเทคนิค (ถาวร) คณะกรรมาธิการที่ได้รับมอบหมาย (มีอำนาจเต็ม)

  18. Congresses องค์กรสภาสหพันธ์ว่ายน้ำ องค์กรสภาสหพันธ์ว่ายน้ำประกอบไปด้วย สหพันธ์กรรมการใหญ่ เป็นผู้มีสิทธิ์และอำนาจเต็ม ในสหพันธ์ว่ายน้ำ ประกอบด้วย กรรมการฝ่ายเทคนิค ว่ายน้ำ กระโดดน้ำ โปโลน้ำ ระบำใต้น้ำ ว่ายน้ำมาราธอน ว่ายน้ำผู้สูงอายุ

  19. FINABUREAU - 22 Members ประธานสหพันธ์ฟีน่า เลขาธิการกิตติมศักดิ์ เหรัญญิก กิตติมศักดิ์ รองประธานสหพันธ์ (5) สมาชิก (14) ประธานฟีน่า รวมถึงฝ่ายจัดการบริหารงาน สมาชิกของสำนักงานฟีน่า มีจำนวน 22 คน สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งโดยการลงคะแนนเสียงดังนี้

  20. ประธานกิตติมศักดิ์ถาวร(โดยตำแหน่ง) ประธานกิตติมศักดิ์ถาวร(โดยตำแหน่ง) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ฝ่ายจัดการบริหารงานกิตติมศักดิ์ สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งโดยไม่มีการลงคะแนนเสียงดังนี้

  21. FINA Standing Committees (7) การก่อตั้งสมาพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ (7) ว่ายน้ำ ปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1908) กระโดดน้ำ ปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ.1928) โปโลน้ำ ปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1928) ระบำใต้น้ำ ปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1956)

  22. เวชศาสตร์ด้านการกีฬา ปี พ.ศ. 2511(ค.ศ. 1968) ว่ายน้ำสำหรับผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1986) ว่ายน้ำมาราธอน ปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1992)

  23. FINA Commissions (11) คณะกรรมาธิการสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ (11) คณะกรรมการตรวจสอบการใช้ยาบำรุง คณะกรรมาธิการด้าน การพัฒนาการกีฬา คณะกรรมาธิการ ด้านผู้ฝึกสอน

  24. คณะกรรมาธิการ ด้านสื่อ โฆษณา คณะกรรมการ การควบคุมใช้ยาบำรุง สภาตรวจสอบ การใช้ยา

  25. คณะกรรมาธิการด้านกฏหมายคณะกรรมาธิการด้านกฏหมาย คณะกรรมาธิการรับรองเกี่ยวกับชุดว่ายน้ำ

  26. คณะกรรมาธิการฝ่ายเทคนิคกีฬาว่ายน้ำชิงชนะเลิศโลกและระดับคณะกรรมาธิการฝ่ายเทคนิคกีฬาว่ายน้ำชิงชนะเลิศโลกและระดับ โอลิมปิคเกมส์ (สำนักงานการติดต่อ,ประธานกรรมาธิการฝ่ายเทคนิค, รองประธานกรรมาธิการฝ่ายเทคนิคและเลขาธิการฝ่ายเทคนิค)

  27. Continental Structure of FINA สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติในแต่ละทวีป มีดังนี้ สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นอเมริกา Union Americana de Natacion(ASUA) สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นยุโรป European Swimming League (LEN)

  28. สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นแอฟริกาสหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นแอฟริกา African Swimming Confederation (CANA) สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นเอเชีย Asean Swimming Federaton(AASF) สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นโอเชียเนีย Oceania Swimming Federaton(OSA)

  29. FINA Growth in Member Federations ประเทศสมาชิกของสหพันธ์ ว่ายน้ำนานาชาติที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น

  30. ปี พ.ศ.2451 (ค.ศ.1908) = 8 ประเทศ ปี พ.ศ.2453 (ค.ศ.1910) = 15 ประเทศ ปี พ.ศ.2471 (ค.ศ.1928) = 38 ประเทศ ปี พ.ศ.2491 (ค.ศ.1948) = 53 ประเทศ

  31. ปี พ.ศ.2501 (ค.ศ.1958) = 75 ประเทศ ปี พ.ศ.2507 (ค.ศ.1964) = 90 ประเทศ ปี พ.ศ.2511 (ค.ศ.1968) = 98 ประเทศ ปี พ.ศ.2521 (ค.ศ.1978) = 106 ประเทศ

  32. ปี พ.ศ.2531 (ค.ศ.1988) = 109 ประเทศ ปี พ.ศ.2539 (ค.ศ.1996) = 162 ประเทศ ปี พ.ศ.2540 (ค.ศ.1997) = 168 ประเทศ ปี พ.ศ.2542 (ค.ศ.1999) =170 ประเทศ

  33. ปี พ.ศ.2543 (ค.ศ.2000) = 174 ประเทศ ปี พ.ศ.2544 (ค.ศ.2001) = 176 ประเทศ ปี พ.ศ.2546 (ค.ศ.2003) = 184 ประเทศ ปี พ.ศ.2450 (ค.ศ.2007) =194 ประเทศ

  34. ปี พ.ศ.2452 (ค.ศ.2009) =201 ประเทศ ปี พ.ศ.2454 (ค.ศ.2011) =202 ประเทศ

  35. FINA Events รายการแข่งขันกีฬาทางน้ำของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ รายการแข่งขันชิงชนะเลิศระดับโลก (5 ประเภท) การแข่งขันว่ายน้ำชิงชนะเลิศระดับโลก (สระ 25 เมตร) การแข่งขันกีฬาทางน้ำเพื่อจัดลำดับในการชิงถ้วยระดับโลก • (ว่ายน้ำ กระโดดน้ำ ระบำใต้น้ำ)

  36. รายการแข่งขันโปโลน้ำโลกรายการแข่งขันโปโลน้ำโลก การแข่งขันระบำใต้น้ำชิงถ้วยชนะเลิศ ระดับโลก รายการแข่งขันกระโดดน้ำกรังส์ปรี รายการแข่งขันว่ายน้ำจูเนียร์/ยุวชนชิงชนะเลิศระดับโลก ( 5 ประเภท)

  37. ฝ่ายเทคนิคของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ ได้รวบรวมรายการแข่งขันกีฬาทางน้ำ บรรจุไว้ในการแข่งขันระดับ โอลิมปิคเกมส์และระดับเยาวชนไว้ด้วย

  38. FINA Programs ภาระกิจของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ

  39. การพัฒนาการกีฬาทางน้ำการพัฒนาการกีฬาทางน้ำ ของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ • การสัมมนา คณะกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ และโรงเรียนของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติเกี่ยวกับคณะกรรมการผู้ตัดสิน ผู้ชี้ขาด และกรรมการดูฟาล์ว ของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ

  40. การตรวจการใช้ยาโด๊ป ของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ การจัดประชุมและการสัมมนา สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ

  41. FINA – The Future: กิจกรรมกีฬาทางน้ำที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นความประสบผลสำเร็จอย่างมาก ในการกระจายข่าว ในการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ และผู้ชมให้ความสนใจ การแข่งขันกีฬาว่ายน้ำโอลิมปิคเกมส์ ที่ปักกิ่ง (จีน) และการแข่งขันว่ายน้ำที่กรุงโรม อิตาลี

  42. ชิงชนะเลิศว่ายน้ำระดับโลกชิงชนะเลิศว่ายน้ำระดับโลก - การดำเนินการ การเดินทางและที่พักของนักกีฬา เงิน รางวัล ค่าใช้จ่ายในการจัดการแข่งขันชิงชนะเลิศ ว่ายน้ำระดับโลก 2.5 ล้านเหรียญ รายการแข่งขันว่ายน้ำมาราธอน ระยะทาง 10 กิโลเมตร ในระดับโอลิมปิค

  43. ชิงชนะเลิศว่ายน้ำฟีน่าเวิลด์ ที่เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน พ.ศ.2554 (ค.ศ. 2011) ชิงชนะเลิศว่ายน้ำฟีน่า จูเนียร์เวิลด์สวิมมิ่ง ที่ลิม่า ประเทศเปรู พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ชิงชนะเลิศว่ายน้ำฟีน่าเวิลด์สวิมมิ่ง (สระ 25 เมตร) ที่อิสตันบูล ประเทศตุรกี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012)

  44. ชิงชนะเลิศว่ายน้ำระดับโลกชิงชนะเลิศว่ายน้ำระดับโลก บาร์เซโลน่า ประเทศสเปน พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) ชิงชนะเลิศว่ายน้ำระดับยุวชนโลก คาสซาบานซ่า มาเก๊า พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013)

  45. การจัดการแข่งขัน: • ก. มาตรฐานการแข่งขันระดับประเทศ • บันทึกตรวจสอบ รายการการเตรียมการของกรรมการผู้ตัดสิน • โปรแกรมการแข่งขัน และกฏกติกา • สถานที่ วันที่ทำการแข่งขัน • การเตรียมอุปกรณ์ วัตถุปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการแข่งขัน • รวมถึงการตรวจสอบระบบเวลา • อุปกรณ์ส่วนตัวและการปฏิบัติของกรรมการผู้ตัดสิน

  46. การจัดการแข่งขัน: • ข. มาตรฐานการแข่งขันระดับสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ • การแข่งขันชิงชนะเลิศว่ายน้ำระดับโลก สระ 50 เมตร สระ 25 เมตร • โอลิมปิคเกมส์ • ชิงชนะเลิศว่ายน้ำระดับยุวชนโลก • ตรวจสอบอุปกรณ์การแข่งขันโดยคณะกรรมการฝ่ายเทคนิค เช่น • ลู่ว่าย แท่นกระโดด อุปกรณ์ปล่อยตัว ป้ายนับรอบ ระบบเวลา • คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ตามกติกาของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติที่ • กำหนดไว้

  47. การตรวจตราบริเวณสระ ประชุมกับคณะกรรมการ จัดการแข่งขัน ผู้จัดการทีม ฯลฯ แน่ใจว่าสระว่ายน้ำ ที่ใช้ในการแข่งขันได้รับการตรวจอย่างถูกต้องแล้ว

  48. พัก อาหารว่าง กาแฟ

  49. การตรวจความพร้อมบริเวณสระ ประชุมกับคณะกรรมการจัดการแข่งขัน ผู้จัดการทีม ฯลฯ แน่ใจว่าสระว่ายน้ำที่ใช้ในการแข่งขันได้รับการตรวจ อย่างถูกต้องแล้ว

More Related