160 likes | 324 Views
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552. วัตถุประสงค์. วัตถุประสงค์หลัก
E N D
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์หลัก 1. เพื่อสำรวจและประเมินผลความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อการให้บริการของ อย. 2. เพื่อนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการบริหารจัดการด้านการบริการให้มีประสิทธิภาพและสามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความพึงพอใจของผู้รับบริการ การศึกษาความพึงพอใจ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วิธีการวิจัย ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการของ อย. จำนวน 1,200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล แบบสอบถาม(Questionnaire) ประเภทประมาณค่า (Rating Scale) ประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการบริการของ อย. ใน 2 ด้าน คือ 1. ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ 1.1 ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน 1.2 ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 1.3 ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 2. ความพึงพอใจต่อความโปร่งใส ยุติธรรมของการให้บริการ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ การศึกษาความพึงพอใจ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วิธีการวิจัย(ต่อ) • การสร้างและการทดสอบเครื่องมือ • สร้างข้อคำถามตามกรอบแนวคิดในการศึกษา • ทดทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม กับผู้ที่มาติดต่อ อย. จำนวน 30 คน การทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของ Cronbach พบว่ามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .9561 การศึกษาความพึงพอใจ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 วิธีการวิจัย(ต่อ) การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยโปรแกรม SPSS และนำเสนอ ผลการวิเคราะห์ในรูปตารางประกอบความเรียง ซึ่งใช้สถิติดังนี้ 1. ค่าร้อยละ (Percentage) 2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency) โดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) รายข้อและรายด้าน 3. การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion) 4. เปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่.05 โดย 4.1 คำนวณค่า t-test แบบ Independent ในกรณีที่จำแนกตัวแปรออกเป็น 2 ระดับ 4.2 คำนวณค่า F-test โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance หรือ Anova) ในกรณีที่จำแนกตัวแปรอิสระออกเป็น3 ระดับขึ้นไป การศึกษาความพึงพอใจ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ผลการวิจัย ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ส่วนดังนี้ การศึกษาความพึงพอใจ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ผลการวิจัย(ต่อ) ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป การศึกษาความพึงพอใจ
ความพึงพอใจต่อความโปร่งใส ยุติธรรมของการให้บริการ
ความประทับใจที่ควรรักษาไว้ความประทับใจที่ควรรักษาไว้
ความถี่ของความไม่พึงพอใจที่ควรแก้ไขความถี่ของความไม่พึงพอใจที่ควรแก้ไข
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของผู้มารับบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ข้อเสนอแนะ ด้านเจ้าหน้าที่ 1. กำหนดให้การบริการเป็นค่านิยม และสมรถนะของบุคลากรที่ให้บริการ 2. เพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่ ในช่วงที่มีผู้รับบริการมาก ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 1. เพิ่มที่จอดรถ 2. ปรับปรุงความสะอาดและเพิ่มห้องน้ำ 3. เพิ่มสื่อประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น 4. นำเครื่องมือที่ทันสมัยมาใช้ในการให้บริการ 5. การจัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ด้านกระบวนการ/ ขั้นตอน 1. ปรับปรุงระบบงาน 2. ขยายระยะเวลาในการให้บริการ เป็น 7.30 – 17.00 น. รวมถึงเพิ่มเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการในช่วงเช้าและพักเทียง 3. พัฒนาระบบจองคิวและควบคุมระยะเวลาในการให้บริการ 4. เพิ่มช่องทางในการให้บริการ 5. การติดต่อทางโทรศัพท์ ควรปรับปรุงขยายคู่สายให้โทรติดง่าย มีเจ้าหน้าที่รับสาย โดยเจ้าหน้าที่ต้องสามารถตอบคำถามผู้รับบริการได้ โดยเฉพาะถ้าผู้รับบริการสอบถามถึงความก้าวหน้าในการดำเนินการ 6. ขยายศูนย์บริการเบ็ดเสร็จไปยังศูนย์การค้าต่างๆ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามอายุ จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามระดับการศึกษา กลับหน้าข้อมูลทั่วไป
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามประเภทผู้ติดต่อ จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป จำแนกตามวัตถุประสงค์ในการติดต่อ กลับหน้าข้อมูลทั่วไป
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ