1 / 35

การประชุม โครงการปรับปรุงและจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม

การประชุม โครงการปรับปรุงและจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม. ครั้งที่ 4/2548 16 กันยายน 2548 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์. วาระที่ 3.1 ความคืบหน้าการแก้ไขร่างแผนแม่บทฯ. ปรับปรุง บทที่ 2 การทบทวนสถานภาพทางเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการยุติธรรม

shina
Download Presentation

การประชุม โครงการปรับปรุงและจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมโครงการปรับปรุงและจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรมการประชุมโครงการปรับปรุงและจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม ครั้งที่ 4/2548 16 กันยายน 2548 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์

  2. วาระที่ 3.1 ความคืบหน้าการแก้ไขร่างแผนแม่บทฯ • ปรับปรุง บทที่ 2 การทบทวนสถานภาพทางเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการยุติธรรม • ดำเนินการสำรวจทรัพยากรด้านไอทีกระบวนการยุติธรรม ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2548 ถึง 15 กันยายน 2548 • ยังขาดข้อมูล จากศูนย์ไอที สำนักงานปลัดฯ • สรุปผลการสำรวจทรัพยากรด้านไอทีกระบวนการยุติธรรม

  3. จำนวนบุคลากรทางด้านสารสนเทศจำนวนบุคลากรทางด้านสารสนเทศ

  4. จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์

  5. อัตราส่วนคน/เครื่อง

  6. สรุปข้อมูลการใช้งานเครือข่ายสรุปข้อมูลการใช้งานเครือข่าย

  7. ความพึงพอใจโดยเฉลี่ยในการใช้เครือข่ายความพึงพอใจโดยเฉลี่ยในการใช้เครือข่าย

  8. สรุปสถานะด้านระบบฐานข้อมูลสำหรับกระบวนการยุติธรรมสรุปสถานะด้านระบบฐานข้อมูลสำหรับกระบวนการยุติธรรม

  9. การเข้าร่วมระบบไอทีกระบวนการยุติธรรมการเข้าร่วมระบบไอทีกระบวนการยุติธรรม • กิจกรรม 1 • เลือกสรรข้อมูลที่สามารถให้บริการกับหน่วยงานอื่นได้ รวมทั้งกำหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลกระบวนการยุติธรรม • ทำข้อตกลงระหว่างหน่วยงานในการอนุมัติการให้บริการข้อมูล • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: ทุกหน่วยงาน • กิจกรรมที่ 2 • ออกแบบ ปรับปรุง และพัฒนาระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานให้เหมาะสม • นำข้อมูลเข้าระบบ • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สนง.ศาลยุติธรรม, กรมคุ้มครองสิทธิฯ, สถาบันนิติวิทย์ฯ, สกธ., สป., ปปช., DSI, กรมพินิจฯ

  10. กิจกรรมที่ 3 • ออกแบบและพัฒนา Front-end service และ ระบบ QM เพื่อเตรียมการแลกเปลี่ยนข้อมูล • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: ปปง., ราชทัณฑ์, คุมประพฤติ, ปปส., สตช., อัยการ • กิจกรรมที่ 4 • เมื่อได้ prototype ของระบบทดสอบการใช้งานระบบ QM service • ปล่อยข้อมูลเข้ามาในระบบและทดลองใช้งาน • เริ่มทดลองการแลกเปลี่ยนข้อมูล • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ปปง., ราชทัณฑ์, คุมประพฤติ, ปปส.

  11. วาระที่ 4.1 การพัฒนาระบบนำร่องต้นแบบฯ • การขยายขอบเขตระยะเวลาของ MOU • เดิม 1 ธันวาคม 2547 ถึง 30 กันยายน 2548 เป็นถึง 30 กันยายน 2549 • ความคืบหน้าการเชื่อมโยงระบบแม่ข่าย • สำนักงานอัยการสูงสุด • ยังไม่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมต่อ • สำนักงานการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย • รอการอนุมัติ User/Password

  12. ความคืบหน้าการเชื่อมโยงระบบแม่ข่ายความคืบหน้าการเชื่อมโยงระบบแม่ข่าย • สำนักงานอัยการสูงสุด • ยังไม่ได้รับอนุญาตให้เชื่อมต่อ • สำนักงานการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย • รอการอนุมัติ User/Password

  13. การติดต่อกับสำนักงานอัยการสูงสุดการติดต่อกับสำนักงานอัยการสูงสุด • 24-08-2005: นัดพบคุณเชิดศักดิ์ ไม่สามารถติดต่อได้ เนื่องจากติดภารกิจราชการด่วน • 29-08-2005: ประชุมกับฝ่ายไอทีของอัยการ ได้ข้อสรุปเบื้องต้น และอัยการขอรายละเอียดข้อมูลกระบวนการยุติธรรมที่ทีมที่ปรึกษาฯได้รับจากหน่วยงานอื่นว่า มีอะไรและใช้ทำอะไร และ มีความต้องการข้อมูลใด • 05-09-2005: ส่งสรุปรายละเอียดข้อมูลตามที่อัยการร้องขอ • 08-09-2005: พบคุณ นพพล อธิบายรายละเอียดข้อมูลที่ส่งมาเพื่อรอการอนุมัติ • 09-09-2005: คุณนพพล แนะนำให้ทำเอกสารหนังสือจาก สกธ. เพื่อ ระบุบุคคล ที่จะทำงานประสานการเชื่อมต่อระบบกับ บริษัท Fujitsu • 11-09-2005: คุณนพพล แจ้งว่า ข้อมูลอาจไม่ได้ใน สัปดาห์นี้(12-17) เนื่องจากต้องเดินทางไปศึกษางานที่ประเทศญี่ปุ่น และเนื่องจาก ช่วงนี้เป็นช่วงรับมอบงานกับทาง Fujitsu ทำให้ เขาต้องการเข้ามาดูความเรียบร้อยด้วยจึงขอเลือนไปในสัปดาห์หน้า ( 19-23)

  14. การติดต่อกับสำนักงานบริหารการทะเบียนการติดต่อกับสำนักงานบริหารการทะเบียน • 11-08-2005: ทำ MemoLetter จากสกธ. เพื่อขอ User/Password จากสำนักงานบริหารการทะเบียน • 17-08-2005:Install AMI โปรแกรม • 19-08-2005:ได้รับตัวอย่าง การใช้งาน AMI และ ส่ง MemoLetter ทาง EMS ไปยังสำนักงานบริหารการทะเบียน • 24-08-2005: ได้รับแบบเอกสารการขอ User/Passwordจากสำนักงานบริหารการทะเบียนเรื่อง • 25-08-2005 – 01-09-2005: สกธ.เดินเรื่องการกรอกแบบฯ • 02-09-2005: ส่งแบบเอกสารฯ ไปให้สำนักงานบริหารการทะเบียนทั้งทาง FAX และไปรษณีย์ • 09-09-2005: เอกสาผ่านขั้นตอนเรียบร้อย รอการ Add User ในวันจันทร์ที่ 19-09-2005 เพราะเจ้าหน้าที่ติดงานนอกสถานที่

  15. แนวทางการนำเสนอต่อคณะอนุกรรมการฯ 28 กันยายน 2548 • ใช้สถาปัตยกรรมแบบใหม่ (SOA) • Database แบบ Non-RealTime • Design ของระบบ ตามแบบ SOAPrototype 1 • คาดว่าเสร็จสิ้น และแสดงผลได้ภายใน 28 กันยายน 2548

  16. การใช้สถาปัตยกรรม SOA ระบบนำร่องฯ • โครงสร้างเดิมของโครงการนำร่อง • พัฒนาเป็น web application โดยใช้ภาษา PHP ซึ่งจะดึงข้อมูลที่ต้องกับข้อคำถามจาก QM โดยตรง • มีการส่งผ่านข้อมูลระหว่าง DXC และ QM แบบ secured โดยข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบของ XML • วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนโครงสร้างการติดต่อระหว่าง DXC และ QM • ทำให้การเชื่อมต่อเป็นไปในรูปแบบมาตรฐาน • สามารถเพิ่มเติม service ได้ง่าย • แต่ละหน่วยงานสามารถกำหนด service ที่สามารถให้บริการต่อกระบวนการยุติธรรมได้อย่างอิสระ • ระบบมีการแยกส่วนเป็น component อย่างชัดเจน

  17. รูปแบบของ service • Service สำหรับผู้ใช้งานระบบ โดยมี web application เป็นตัวเชื่อมต่อกับผู้ใช้ระบบ • ประวัติบุคคล • ข้อมูลคดีอาญา • รายงานคดียาเสพติด • สถิติคดีของแต่ละสถานีตำรวจ

  18. Service ย่อยที่ถูกเรียกจาก service อื่นๆ ในระบบ • Data provider เป็น service ที่อยู่บนเครื่อง QM ทำหน้าที่ดึงข้อมูลตามข้อคำถามที่ได้รับ โดยรูปแบบของข้อมูลที่ให้สามารถกำหนดให้ขึ้นกับระดับของผู้ขอ • Logging บันทึกการขอข้อมูลจากผู้ใช้ต่างๆ ซึ่งสามารถใช้ตรวจสอบภายหลังได้ • Service registry รวม service ต่างๆ ของระบบ เป็นที่เก็บข้อตกลงในการเชื่อมต่อระหว่าง service ต่างๆ ในระบบ

  19. Client directly connects to DXC DXC QM-1 Client Service Registry Web App. Web Browser Logging Authentication Dept Server Mirror DB Dept DB Data Requester Data Provider • Web services • Personal Info • Case Status • Narcotic Rpt • Police Stn Stats QM-2 Client Web App. Web Browser Authentication Dept Server Mirror DB Dept DB Web App. Security Data Provider Client Client QM-DOPA DOPA gateway Web Browser Web Browser Data Provider Query Client connects web application Web app authenticates via Security service Client submits a query to DXC Log the activity and look up for data provider Send the query to QMs via Data Requester QM’s Data Provider service processes the query DXC sends the integrated result back to the client DXC service combines the results from QMs QMs send result back to DXC

  20. Client accesses the system via QM DXC QM-1 Client Service Registry Web App. Web Browser Logging Authentication Dept Server Mirror DB Dept DB Data Requester Data Provider • Web services • Personal Info • Case Status • Narcotic Rpt • Police Stn Stats QM-2 Client Web App. Web Browser Authentication Dept Server Mirror DB Dept DB Web App. Security Data Provider Client Client QM-DOPA DOPA gateway Web Browser Web Browser Data Provider Query For DOPA, forward query to DOPA gateway Web service combines results and sends it back to the client Client authenticates with local authentication service Send query to Data Providers Send query along with privilege to DXC service Log the query and look up the provider QM gathers the result and send it back to DXC

  21. วาระที่ 4.2 การเปลี่ยนแปลงไอที • เพิ่มเติม บทที่ 5 สถาปัตยกรรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม • N-Tiers Architecture • การใช้ SOA: Service Oriented Technology • Common Standard Technology • ง่ายต่อการพัฒนาระบบงานใหม่ให้รับฟังก์ชันของกระบวนการยุติธรรม • วิธีการเข้าถึงฐานข้อมูล • QM v1 – ใช้หลักการเดิม คือ การทำ Database Replication ของข้อมูลร่วม (Shared Database) ข้อเสียคือ ไม่ได้ Real-Time Database • QM v2 – การสร้าง SharedDatabase Service ไว้ในระบบเดิมข้อเสียคือ เพิ่ม Bandwidth

  22. DEMELITARIZED ZONE (DMZ) ENTERPRISED ZONE Web Server Application Server NET NET Database Server TRUSTED ZONE NJP DXC NET Query Manager

  23. Query Manager Query Manager QM Service QM Service SERVER SERVER WS WS WS WS WS WS Application Application Application Application Application Application Application Application NJP-DXC SERVER Query Manager NJP Service WS QM Service WS WS Application Application Application Application

  24. Server QM v1 WS WS DXC WS WS Server QM v2 DBS WS WS

  25. วาระที่ 4.3 เป้าหมายของแต่ละหน่วยงาน • เป้าหมายของแต่ละหน่วยงานในการเข้าร่วมระบบไอทีกระบวนการยุติธรรม • หน่วยงานที่มีความพร้อมที่จะเข้าร่วมระบบทันทีได้แก่ ปปง., ปปส. • หน่วยงานที่มีความพร้อมที่จะเข้าร่วมบางส่วน ได้แก่ สตช., อัยการ, ราชทัณฑ์, กรมบังคับคดี, กรมคุมประพฤติ, ปปช. • หน่วยงานที่ต้องเพิ่มความพร้อม ได้แก่ DSI, CIFS, กรมคุ้มครองสิทธิฯ,สกธ., กรมพินิจฯ, สนง.ศาลยุติธรรม

  26. เป้าหมายที่ 4 • มีมาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัย • มีระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัย • เป้าหมายที่ 5 • มีความพร้อมของบุคลากรไอที • เป้าหมายที่ 6 • มีกฎหมายรองรับการทำงาน • เป้าหมายที่ 7 • มีการให้บริการข้อมูลกระบวนการยุติธรรมผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม • เป้าหมายที่ 8 • ปรับปรุงศักยภาพการให้บริการทั้งด้านไอทีและข้อมูล • เป้าหมายที่ 1 • มีการเลือกสรรข้อมูลกระบวนการยุติธรรมที่สามารถให้บริการกับหน่วยงานอื่นได้ รวมทั้งกำหนดสิทธิ์ในการใช้และทำข้อตกลงระหว่างหน่วยงานในการอนุมัติการให้บริการข้อมูล • มีข้อมูลกระบวนการอยู่ในระบบอย่างถูกต้อง ครบถ้วน • เป้าหมายที่ 2 • มีระบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการให้บริการข้อมูลกระบวนการยุติธรรม • เป้าหมายที่ 3 • มีเครือข่ายที่ใช้งานได้

  27. วาระที่ 4.4 แผนงาน/โครงการ • Schema by Type • แผนงาน (Program) • ใช้โครงการของหน่วยงานที่สนับสนุนการใช้ไอทีในกระบวนการยุติธรรม • โครงการหลัก (Main Project) • Schema by Time (3 years) • แผนงาน/โครงการที่ทำต่อเนื่อง • 2 ปี • 3 ปี • แผนงาน/โครงการที่ทำในแต่ละปี

  28. ทุกปี • แผนงานพัฒนากระบวนการทำงานแบบอิเล็กทรอนิกส์สำหรับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม • แผนงานวิเคราะห์และสนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม • แผนงานการใช้เทคโนโลยีด้านวีดิทัศน์ในกระบวนการยุติธรรม • แผนงานระบบสารสนเทศเพื่อพิสูจน์ทราบข้อมูลบุคคล (Personal Identification Validation Center) • โครงการจัดทำมาตรฐานและข้อตกลงสำหรับการบูรณาการข้อมูลจำเป็นกระบวนการยุติธรรม • โครงการนำร่องระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรมต้นแบบ • โครงการจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะและศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกระบวนการยุติธรรมแห่งชาติ (Data eXchange Center หรือ DXC) • โครงการพัฒนาเครือข่ายกระทรวงยุติธรรม • โครงการฝึกอบรมผู้บริหารและบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการยุติธรรม • โครงการปรับปรุงระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายที่เอื้อต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม

  29. ทุกปี • โครงการพัฒนาระบบแม่ข่ายการให้บริการข้อมูลกระบวนการยุติธรรม (Query Manager) จำนวน 14 โครงการ ตามจำนวนหน่วยงาน • ปีที่ 1 • โครงการกำหนดมาตรฐานเทคโนโลยีความมั่นคงปลอดภัยในกระบวนการยุติธรรม • โครงการสำรวจ และประมวลผลข้อมูลกระบวนการยุติธรรม • ปีที่ 2 • โครงการกำหนดมาตรฐานการใช้เทคโนโลยีในการรักษาความปลอดภัยของศูนย์ข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม • โครงการกำหนดมาตรฐานการวางแผนการกู้ข้อมูล และระบบเทคโนโลยี • ปีที่ 3 • โครงการตรวจสอบสถานะหมายจับออนไลน์ • โครงการส่งสำเนาคำพิพากษาทางอิเล็กทรอนิกส์ • โครงการปรับปรุงสายงานวิชาชีพบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม • โครงการจัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรมฉบับที่ 2

  30. www.oja.moj.go.th

More Related