390 likes | 912 Views
การพิจารณาโครงการหรือกิจการเข้าข่ายต้องจัดทำ EIA. เจ้าของโครงการ ลักษณะ (ประเภท)/ รูปแบบ (ขนาด)/ ที่ตั้ง+ทางเลือก ประเภท/กิจการ/กิจกรรมหลัก ขนาดโครงการ - หน่วยงานอนุญาตหลัก
E N D
การพิจารณาโครงการหรือกิจการเข้าข่ายต้องจัดทำ EIA เจ้าของโครงการ ลักษณะ(ประเภท)/รูปแบบ(ขนาด)/ที่ตั้ง+ทางเลือก ประเภท/กิจการ/กิจกรรมหลัก ขนาดโครงการ - หน่วยงานอนุญาตหลัก ชื่อ - การใช้ประโยชน์ ตอน-ช่วง/แผนงาน-ระยะ-พื้นที่ - หน่วยงานอนุญาตรอง การใช้งาน-ผลผลิต การพัฒนาขั้นสุดท้าย - การขออนุมัติ(ครม.) กิจกรรมต่อเนื่อง/กิจกรรมย่อยภาพรวมกิจกรรมสุดท้าย - แฝงในการขออนุมัติงบประมาณ เข้าข่ายต้องจัดทำรายงาน เตรียมงบประมาณ+จ้างที่ปรึกษาทำ EIA +ยื่นคำขออนุญาต ประชาสัมพันธ์ เสนอ EIA สผ. เพื่อดำเนินการตามขั้นตอนการพิจารณารายงานฯ
ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของโครงการด้านคมนาคมที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(Environmental Impact Assessment : EIA )
ประเภท :ระบบทางพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษหรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับทางพิเศษ ขนาด :ทุกขนาด
หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
หลักการและเหตุผล เป็นประเภทและขนาดที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามประกาศกระทรวงฯ เดิม หมายเหตุ นิยามของทางพิเศษ และทางหลวงพิเศษ ทางพิเศษ หมายถึง ทางหรือถนนซึ่งจัดสร้างขึ้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นในระดับพื้นดินหรือเหนือพื้นดินเพื่ออำนวยความสะดวกในการจราจรเป็นพิเศษ และหมายความรวมถึงทางซึ่งใช้สำหรับรถรางเดียวหรือรถใต้ดิน สะพาน อุโมงค์ เรือสำหรับขนส่งรถข้ามฟาก ท่าเรือสำหรับขึ้นลงรถ ทางเท้า ที่จอดรถ เขตทาง ไหล่ทาง เขื่อนกั้นน้ำ ท่อทางระบายน้ำ กำแพงกันดิน รั้วเขต หลักระยะ สัญญาณจราจร เครื่องหมายจราจรและอาคารหรือสิ่งอื่นอันเป็นอุปกรณ์เกี่ยวกับงานทางพิเศษ ทางหลวงพิเศษ หมายถึง ทางหลวงที่ได้อออกแบบเพื่อให้การจราจรผ่านได้ตลอดรวดเร็วเป็นพิเศษ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ประกาศกำหนดให้เป็นทางหลวงพิเศษ และกรมทางหลวง เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง ขยาย บูรณะและบำรุงรักษา อธิบดีกรมทางหลวงเป็นผู้จัดให้ลงทะเบียนไว้ ณ กรมทางหลวง โดยอนุมัติรัฐมนตรี ที่มา : เผ่าพงศ์ นิจจันทร์พนธศร วิศวกรรมการทาง (Highway Engineering สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทเวศร์
ประเภท : ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง ที่ตัดผ่านพื้นที่ ดังต่อไปนี้ • พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า • พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ • พื้นที่เขตลุ่มน้ำชั้น 2 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแล้ว • พื้นที่เขตป่าชายเลนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ • พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้ำทะเลสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ • พื้นที่ที่อยู่ในหรือใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศหรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ ในระยะ 2 กิโลเมตร • พื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ ตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติในระยะทาง 2 กิโลเมตร • ขนาด :ทุกขนาด
หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
หลักการและเหตุผล :ได้ปรับแก้ไขประเภทโครงการหรือกิจการตามประกาศกระทรวงเดิม ดังนี้ 1. ปรับแก้จาก “พื้นที่เขตฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตรห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุด” เป็น “พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตรห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ” เพื่อความชัดเจนและสอดคล้องกับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
2. เพิ่ม ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวงที่ตัดผ่านพื้นที่ที่ตั้งอยู่ในหรือใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ หรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ ในระยะทาง 2 กิโลเมตร และพื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ในระยะทาง 2 กิโลเมตร ต้องจัดทำรายงานฯ เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม
ประเภท : ระบบขนส่งมวลชนที่ใช้ราง ขนาด : ทุกขนาด • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
ประเภท : ท่าเทียบเรือ ขนาด : รับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส หรือความยาวหน้าท่า ตั้งแต่ 100 เมตร หรือมีพื้นที่ท่าเทียบเรือรวมตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตร ขึ้นไป • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ - กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
หลักการและเหตุผล ปรับรายละเอียดของขนาดของโครงการท่าเทียบเรือที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ครอบคลุมมากขึ้น โดยพิจารณาเงื่อนไข” ความยาวหน้าท่า และ “ พื้นที่ท่าเทียบเรือ” อีก 2 เงื่อนไข นอกเหนือจากที่เคยพิจารณาเฉพาะท่าเทียบเรือที่จะ “ รับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอสเท่านั้น” เพราะความยาว หน้าท่าและพื้นที่ท่าเทียบเรือเป็นปัจจัยสำคัญและเป็นแหล่งกำเนิดที่สามารถจะก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ลักษณะเดียวกับท่าเทียบเรือที่รับเรือขนาดดังกล่าว
ประเภท : ท่าเทียบเรือสำราญกีฬา ที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Marina : มารีน่า ขนาด : ที่รองรับเรือได้ตั้งแต่ 50 ลำ หรือ 1,000 ตารางเมตร ขึ้นไป • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ - กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
หลักการและเหตุผล เป็นโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ได้แก่ ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงจากสภาพชายฝั่ง กระแสน้ำ และระบบนิเวศจากการขุดดินหรือชายหาดในช่วงก่อสร้าง ผลกระทบต่อมลพิษทางน้ำ ผลกระทบต่อการกีดขวางการสัญจรของชาวประมงพื้นบ้าน ประมงชายฝั่งในพื้นที่ ผลกระทบต่อการใช้พื้นที่สาธารณะและประโยชน์ของมนุษย์ รวมทั้งผลกระทบอันเนื่องมาจากกิจกรรมต่อเนื่อง เช่น การซ่อมเรือ การสร้างโรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศ อาคารอยู่อาศัยรวมในพื้นที่บริเวณเดียวกัน เป็นต้น
ประเภท : การถมที่ดินในทะเล ขนาด : ทุกขนาด • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” หลักการและเหตุผล เป็นประเภทและขนาดตามประกาศกระทรวงฯ เดิม
ประเภทและขนาด : การก่อสร้างหรือขยายสิ่งก่อสร้างบริเวณหรือในทะเล • กำแพงริมชายฝั่ง ติดแนวชายฝั่งความยาวตั้งแต่ 200 เมตร ขึ้นไป • รถดักทราย เขื่อนกันทรายและคลื่น รอบังคับกระแสน้ำ ทุกขนาด • แนวเขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล ทุกขนาด
หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
หลักการและเหตุผล โครงการประเภทนี้มักจะดำเนินการเพื่อป้องกันผลกระทบอื่น ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งได้ โดยเฉพาะเกิดการกัดเซาะและการงอกเพิ่มขึ้นของทรายชายฝั่ง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของชายฝั่ง กรณีกำแพงริมชายฝั่ง ติดแนวชายฝั่ง สมควรกำหนดให้โครงการที่มีความยาวตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป ต้องจัดทำรายงานฯ เนื่องจากเป็นขนาดของโครงการที่อาจเกิดผลกระทบต่อการกัดเซาะชายฝั่งส่วนอื่นได้มาก อย่างไรก็ตาม หากโครงการมีความยาวน้อยกว่า 200 เมตร แม้ไม่ต้องทำรายงานฯ แต่จะต้องขออนุญาตจากกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวีก่อนการดำเนินการ
หมายเหตุเทียบเคียงประเภทโครงการภาษาไทยกับศัพท์ภาษาอังกฤษหมายเหตุเทียบเคียงประเภทโครงการภาษาไทยกับศัพท์ภาษาอังกฤษ • - กำแพงริมชายฝั่งติดแนวชายฝั่ง หรือ Seawall • - รอดักทราย (Groin) เขื่อนกันทรายและคลื่น รอบังคับกระแสน้ำ • จะได้ผลตามมาคือ การเสริมทรายชายฝั่ง (Beach Nourishment) • - แนวเขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล (Detached breakwater)
โครงการระบบขนส่งทางอากาศโครงการระบบขนส่งทางอากาศ ประเภท : การก่อสร้างหรือขยายสนามบินหรือที่ขึ้นลงชั่วคราวเพื่อการพาณิชย์ ขนาด :ความยาวทางวิ่งตั้งแต่ 1,100 เมตรขึ้นไป • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
หลักการและเหตุผล เป็นการปรับแก้ประเภทโครงการหรือกิจการสนามบินพาณิชย์ ทุกขนาด เดิมที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมอยู่แล้วตามประกาศกระทรวงฯ เดิม ประกาศประเภทและขนาดใหม่เพิ่ม “ที่ขึ้นลงชั่วคราว” เนื่องจากโครงการมีการยื่นขออนุญาตเป็นที่ขึ้นลงชั่วคราวไม่เข้าข่ายสนามบินพาณิชย์ อย่างไรก็ตาม หากกำหนดขนาดที่ต้องทำรายงานมีขนาดเล็กเกินไปจะครอบคลุมไปถึงที่ขึ้นลงชั่วคราวของเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่สุดและสามารถรับเครื่องบินขนาด 14 ที่นั่งได้ ดังนั้น จึงได้ทบทวนข้อมูลจากต่างประเทศแล้วเห็นว่า” สนามบินที่มีความยาวทางวิ่งประมาณ 800 – 1,200 เมตร” กฎหมายองค์การบิน พลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) กำหนดให้บริเวณที่เป็นสนามบินเพื่อการพาณิชย์ ต้องรองรับผู้โดยสารมากกว่า 2,500 คนต่อวันขึ้นไป โดยความยาวทางวิ่ง 800 เมตร จะรับเครื่องบินขนาด 4 ที่นั่ง และความยาวทางวิ่งขนาด 1,200 เมตร จะรับเครื่องบินขนาดไม่ต่ำกว่า 14 ที่นั่ง ดังนั้นจึงเห็นสมควรกำหนดความยาวทางวิ่งขนาด 1,100 เมตร ขึ้นไปให้ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
สำหรับผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากโครงการดังกล่าว อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินสูง มีปัญหาเรื่องเสียง การย้ายถิ่นฐานและการเงินคืน รวมทั้งก่อให้เกิดการรอนสิทธิของประชาชนบริเวณเขตความปลอดภัยทางอากาศ คือ ประชาชนในเขตความปลอดภัยทางเดินอากาศไม่สามารถก่อสร้างอาคารสูงเกินข้อกำหนดได้
ประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการของประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการของ โครงการด้านคมนาคม ที่ต้องจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ( Initial Environmental Impact Evaluation: IEE)
ประเภท : สนามบินน้ำ ขนาด : ทุกขนาด • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน
หลักการและเหตุผล โครงการหรือกิจการสร้างสนามบินน้ำ มีผลกระทบจากการก่อสร้างค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่มีกิจกรรมในการสร้างทางวิ่ง แต่อาจมีผลกระทบจากการนำอากาศยานขึ้นลงบนน้ำ ในกรณีพื้นที่เป็นแหล่งธรรมชาติอันสวยงามและทำให้มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ทางทะเล รวมทั้งความปลอดภัยของพื้นที่ท่องเที่ยว เป็นต้น จึงเห็นสมควรให้จัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) - กำหนดหลักเกณฑ์ฯ ให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ