230 likes | 360 Views
แผนงานวัณโรค ข้อค้นพบสถานการณ์และความก้าวหน้าของการดำเนินการและโอกาสสำเร็จตามเป้าหมายแผนงาน/โครงการสำคัญ รวมทั้งข้อเสนอแนวทางการปรับแผนในรอบ 6 เดือนหลัง ปี 2555 และทิศทางการดำเนินงานในปี 2556 ( นำเสนอ วันที่ 16 พฤษภาคม 2555). แพทย์หญิงศรีประพา เนตรนิยม รักษาการนายแพทย์ทรงคุณวุฒิ.
E N D
แผนงานวัณโรคข้อค้นพบสถานการณ์และความก้าวหน้าของการดำเนินการและโอกาสสำเร็จตามเป้าหมายแผนงาน/โครงการสำคัญ รวมทั้งข้อเสนอแนวทางการปรับแผนในรอบ 6 เดือนหลัง ปี 2555 และทิศทางการดำเนินงานในปี 2556 (นำเสนอ วันที่ 16 พฤษภาคม 2555) แพทย์หญิงศรีประพา เนตรนิยม รักษาการนายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
โครงการสำคัญของสำนักวัณโรคปี 55 โครงการพัฒนามาตรฐานการควบคุมป้องกันและดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค โครงการพัฒนาศักยภาพบุคคลากรด้านวัณโรค โครงการกำกับติดตามและประเมินผลตามยุทธศาสตร์วัณโรค โครงการสำรวจความชุกวัณโรค
การดำเนินงาน รอบ 6 เดือน สำนักวัณโรค
การดำเนินงาน รอบ 6 เดือน สำนักวัณโรค
การดำเนินงาน รอบ 6 เดือน สำนักวัณโรค
โครงการสำรวจความชุกวัณโรคโครงการสำรวจความชุกวัณโรค • เพื่อศึกษา prevalence of bacteriologically pulmonary TB in adult . • Sample size 90,000 • 100 clusters ( 900/cluster) • 24 จังหวัด (83 cluster) + กรุงเทพ (17 cluster) • สุ่มเลือกจังหวัดและ cluster โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ • เป้าหมาย : participation rate > 85% • ทีม 13 ทีม ( สวร + 12 สคร ) • วิธีสำรวจ : อาสาสมัครในพื้นที่ที่สุ่มและมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ • สัมภาษณ์อาการสงสัยวัณโรค • CXR ทุกราย • เก็บเสมหะ ผู้มีอาการ และ/หรือ มีอาการสงสัย ตรวจ smear and culture โดย lab ของ สคร และ สวร
ผลการดำเนินงาน • 1. ประชุมเตรียมพื้นที่ (pre-assessment ) ดำเนินการ 24 ครั้ง ใน 24 จังหวัด ระหว่างเดือน กค 54 – มค 55 • 2. เริ่มเยี่ยมพื้นที่ล่วงหน้า( pre-survey visit ) กพ55–เมย.55 30 clusters • 3. เริ่มลงสำรวจจริงในพื้นที่ ตั้งแต่เดือน มีค-เมย.55 ดำเนินการไปได้ 20 clusters ( มีค-เมย 55)
ประเด็นท้าทาย • ทีมดำเนินงาน : สวร สคร สสจ และทีมในพื้นที่ • จำนวนคน จำนวนทีม • Capacity building : การอบรม ประสบการณ์ • ความยากในการทำงานของบางพื้นที่ และความเป็นเมืองของเขตชนบท และ โดยเฉพาะพื้นที่กรุงเทพฯ • ดำเนินการสำรวจภาคสนามให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี • ข้อจำกัดด้านงบประมาณ • การบริหารจัดการ
Next steps • Continue survey ในต่างจังหวัด • เสนอโครงการต่อคณะกรรมการ EC ของ กทม • ประชุมเตรียมพื้นที่ในเขตกรุงเทพ • 4 ประเทศใน SEARO (อินโดนีเซีย เนปาล บังคลาเทศ เกาหลีเหนือ )มาศึกษาดูงาน ภายใต้การกำกับดูแลของ WHO ระหว่าง 27 มิย – 2 กค 55 • เริ่ม pre-survey ในกรุงเทพเดือนกย. และเริ่มสำรวจจริง เดือน ตค- ธค..55 • และคาดว่าจะลงพื้นที่เสร็จสิ้นทั้งหมด พย-ธค 55 • รวบรวม บันทึก วิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงานผลการวิจัยปี 56
ผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทและรายใหม่เสมหะพบเชื้อ 2546 - 2554 แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 ปี 54 ขาดข้อมูล กทม.
อัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้ออัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อ แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 ปี 54 ขาดข้อมูล กทม.
ผลความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อผลความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อ แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 ปี 54 ขาดข้อมูล กทม.
ผลการรักษาที่ไม่สำเร็จของผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อผลการรักษาที่ไม่สำเร็จของผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อ แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 ปี 54 ขาดข้อมูล กทม.
อัตราการได้รับยาต้านไวรัสของผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีอัตราการได้รับยาต้านไวรัสของผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 ปี 54 ขาดข้อมูล กทม.
รายงานการขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรคดื้อยา ประจำปีงบประมาณ 2552-53 (ได้รับจาก สคร เขต ) หมายเหตุ : รายงานไม่ครบถ้วนและ ปี 53ไม่ครอบคลุมทุกเขต
การดำเนินงานวัณโรค ปี 2556-2558 highlight
ค้นให้พบ จบด้วยหาย ตายน้อยกว่า 5 ขาดยาเป็น 0
1. Early detection • 1.1 screening pathwayกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงได้แก่contacts, clinical risk group (HIV, DM, chronic lung dis. etc) and risk population • 1.2 patient-initiated pathway-improving knowledge and awareness • 1.3 กลุ่มเสี่ยงวัณโรคดื้อยาทุกรายได้รับการทดสอบการดื้อยา • 1.4 Quality assured TB Lab technology of rapid diagnosis
2.EaRLY & propeR management • 2.1 ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายรวมทั้งวัณโรคดื้อยาได้เข้าสู่ระบบการรักษาวัณโรคอย่างรวดเร็ว เป็นมาตรฐาน และ patient support including DOT • 2.2 ให้การรักษาโรคอื่นๆที่เป็นร่วมกันด้วย ซึ่งรวมทั้งการให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วย TB/HIV
ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน MDR-TB • MDR-TB expert committee • Revise MDR-TB guideline • Improve recording and reporting system (including electronic database) • Strengthen Lab. Network for DST (1st and 2nd line DST • Systematic implementation to cover more MDR treatment centers (by regular and GF budget) • Capacity building at all levels • Closed supervision, monitoring and evaluation