370 likes | 494 Views
เล่าสู่กันฟัง. ประสบการณ์ รูปแบบการจัดบริการ YFHS โรงพยาบาลมหาสารคาม. พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักสิลานคร. จังหวัดมหาสารคาม. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. เมืองการศึกษา มีสถานศึกษามากที่สุดในภาคอีสาน ** ประชากร 1 ใน 3 เป็นกลุ่มนักเรียน และเยาวชน
E N D
เล่าสู่กันฟัง ประสบการณ์ รูปแบบการจัดบริการYFHS โรงพยาบาลมหาสารคาม
พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักสิลานคร
จังหวัดมหาสารคาม ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • เมืองการศึกษา • มีสถานศึกษามากที่สุดในภาคอีสาน • ** ประชากร 1 ใน 3 เป็นกลุ่มนักเรียน และเยาวชน • จำนวน 338,583 คน จาก 936,854 คน • ** มีพื้นที่เขตเมืองฯ เป็นพื้นที่เสี่ยงมากกว่า • ระดับประเทศ 3 เท่า ( ข้อมูลจากสถาบันรามจิตติ ) • 13 อำเภอ มหาวิทยาลัย 2 แห่ง อนุ 4 แห่ง ร.ร. มากกว่า 700 แห่ง
ประชากรในจังหวัดมหาสารคาม จำนวนประชากรทั้งจังหวัด 936,854 คน เด็กและเยาวชน 338,583 คน คิดเป็นร้อยละ 36.14
6.94% (64,979 ราย) 11.70% (10,9,595 ราย) 8.21% (76,953 ราย) 9.29% ( 87,056 ราย) กลุ่มประชากรเด็กและเยาวชน ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2551 ไม่รวมเด็กและเยาวชนที่มาศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม
11.70% (109,595 คน) 9.29% 8.21% (87,056 ราย) (76,953 คน) แผนภูมิแสดงกลุ่มประชากรเด็กและเยาวชน ข้อมูลจำนวนนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ขอนแก่น 26,628 คน มหาสารคาม 52,071 คน 6.94% อุดรธานี 18,036 คน 64,979 8o นครราชสีมา 20,318คน อุบลราชธานี 25,519 คน
ปัญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการพัฒนา (ปัญหาเด็ก) เด็กไม่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน 4.84 %(635 ราย) เด็กเร่ร่อน ขอทาน 8.47 %(1,112 ราย) 0.15 %(20 ราย) เด็กขาดผู้อุปการะถูกทอดทิ้ง 10.56 %(1,387 ราย) 26.03 %(3,418 ราย) 49.96 %(6,561 ราย) ข้อมูลสำรวจสถานการณ์ทางสังคมและท้องถิ่นปี 2551 (อปท.1)
ปัญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการพัฒนา (ปัญหาเยาวชน) เยาวชนติดสารเสพติดร้ายแรง 2.10 %( 277 ราย) 34.10 %( 4,497 ราย) 63.80 %( 8,413 ราย) ข้อมูลสำรวจสถานการณ์ทางสังคมและท้องถิ่นปี 2552 (อปท.1)
ผลจากการ Focus group เด็กและเยาวชน • พบว่า ปัญหาเด็กและเยาวชนที่สำคัญ 5 ปัญหา • เรียงตามลำดับ ดังนี้ • การขายบริการทางเพศ • การใช้จ่ายฟุ่มเฟือย • 3. ปัญหาการแต่งกายล่อแหลม • 4. ปัญหายาเสพติด • 5. ปัญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง
ยุทธศาสตร์ด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดมหาสารคามยุทธศาสตร์ด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดมหาสารคาม ยุทธศาสตร์เมืองน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชนจังหวัดมหาสารคาม วิสัยทัศน์ : มหาสารคาม ตักศิลานคร เมืองน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชน พันธกิจ : บูรณาการทุกภาคส่วน ดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกัน ส่งเสริม พัฒนา เมืองน่าอยู่สำหรับเด็ก
- แผนยุทธศาสตร์เมืองน่าอยู่สำหรับเด็ก-ข้อมูลสถานการณ์เด็กจังหวัด ผลงานเด่น
อนุกรรมการฝ่ายป้องกันและแก้ไขปัญหาอนุกรรมการฝ่ายป้องกันและแก้ไขปัญหา • รองผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน - นางสาวฉัฐพร งามเกลี้ยง เลขาฯ สำนักงานจังหวัด พัฒนาชุมชน ป้องกันจังหวัด สพท.มค. 1,2,3 มมส. อนุกรรมการ ฝ่ายป้องกัน และแก้ไขปัญหา สภาเด็กและเยาวชน ตำรวจ วัฒนธรรมจังหวัด พมจ. บ้านพักเด็ก NGO
ผลงานเด่น • รูปแบบการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กสร้างสรรค์ขยายผลสู่พื้นที่ให้สามารถจัดการด้วยตนเอง
ส่งเสริมให้ท้องถิ่นและเยาวชนมีส่วนร่วมส่งเสริมให้ท้องถิ่นและเยาวชนมีส่วนร่วม ลดพื้นที่เสีย ขจัดร้าย เพิ่มพื้นที่ดี ขยายดี • วิเคราะห์สภาพปัญหาและพื้นที่ที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน • รณรงค์ลด ละ เลิก อบายมุข • มีพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน • ขยายเครือข่ายการทำงานคุ้มครองเด็กให้คลอบคลุมทั่วถึงทั้งจังหวัด โครงการถนนเด็กเดิน , โครงการคาราวานเสริมสร้างเด็ก, โครงการพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็ก,โครงการโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก
อนุกรรมการจัดระเบียบสังคมอนุกรรมการจัดระเบียบสังคม • ปลัดจังหวัด ประธาน • ป้องกันจังหวัดมหาสารคาม เลขาฯ อุตสาหกรรม สวัสดิการคุ้มครอง แรงงาน ปลัดจังหวัด สพท.มค. 1,2,3 ปกครองจังหวัด อนุกรรมการ ฝ่ายจัดระเบียบ สังคม พาณิชจังหวัด แรงงาน วัฒนธรรมจังหวัด ม.ราชภัฏ. สรรพสามิต พมจ. ตำรวจ
บทบาทหน้าที่ หอพัก สถานบริการ ร้านสนุกเกอร์ บิลเลียด ควบคุมหารขายเหล้า บุหรี่ แก่เยาวชน รถมอเตอร์ไซด์ซิ่ง ควบคุมสถานที่/สถานบริการให้เรียบร้อยปลอดภัยสงบ โรงงาน ขจัดสื่อลามก ร้านอาหาร ร้านจำหน่ายสุรา ที่พักเชิงพาณิชย์ สถานที่ สาธารณะ ร้านเกมส์ ร้านอินเตอร์เนต
ผลงานเด่น • ได้มาตรการทางสังคมร่วมกันในการจัดระเบียบสังคมของจังหวัด • แนวทางความมั่นคงของจังหวัด
อนุกรรมการฝ่ายส่งเสริมความประพฤติ นักเรียน นักศึกษา • รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม ที่กำกับดูแลงานด้านการศึกษา ประธาน - นายประเทือง สว่าง เลขาฯ กลุ่มอาชีวะศึกษา 6สถาบัน กองการศึกษา เทศบาลเมือง สพท.มค. 1,2,3 สถาบันการพละ อนุกรรมการ ฝ่ายความประพฤติ นักเรียนนักศึกษา ตัวแทนครู ในโรงเรียน ตำรวจ มมส. พมจ. ม.ราชภัฏ วิทยาลัยพยาบาล
ผลงานเด่น • มาตรการแนวทางส่งเสริมและป้องปรามความประพฤตินักเรียน นักศึกษา • มีเครือข่ายการดำเนินงานส่งเสริมและป้องปรามความประพฤตินักเรียนนักศึกษา ครอบคลุมทุกพื้นที่
ผลงานเด่น • มีทีมสหวิชาชีพที่เข้มแข็ง • มีระบบบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Crisis Center : OSCC) • มีเครือข่ายการทำงานช่วยเหลือป้องกันเฝ้าระวังการกระทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี ครอบคลุมทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และชุมชน
ระบบบริการของศูนย์พึ่งได้และเครือข่ายระบบบริการของศูนย์พึ่งได้และเครือข่าย
โครงการค่ายครอบครัวสมานฉันท์นำสังคมไม่ทอดทิ้งกันโครงการค่ายครอบครัวสมานฉันท์นำสังคมไม่ทอดทิ้งกัน
ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคามผลการดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม • กลวิธีการทำงาขับเคลื่อนผ่านเวทีการประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็กและคณะอนุกรรมการคุ้มครองเด็กฝ่ายต่างๆ
ขับเคลื่อนผ่านเวที สหวิชาชีพ
ขับเคลื่อนโดยสภาเด็กและเยาวชนขับเคลื่อนโดยสภาเด็กและเยาวชน
ค่ายทักษะชีวิต 13 อำเภอ 13 โรงเรียน ขับเคลื่อนโดยสภาเด็กและเยาวชน
กิจกรรมการสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชนกิจกรรมการสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชน
มีการพัฒนาศักยภาพของตนเองมีการพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ผู้บริหารระดับจังหวัดผู้บริหารระดับจังหวัด ให้ความสำคัญเป็นนโยบาย การมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน หัวหน้าส่วนราชการเข้าใจให้ความร่วมมือ ปัจจัย แห่งความสำเร็จ ประเด็นเด็กถูกกำหนดให้เป็นยุทธศาสตร์ เมืองน่าอยู่สำหรับเด็ก ภายใต้ยุทธศาสตร์ชุมชนเข้มแข็งของจังหวัด หัวใจและสัมพันธภาพของทีม ทุนเดิม (ดี) การบูรณาการ งาน เงิน คน การสนับสนุนจากกองทุนคุ้มครองเด็กแห่งชาติ เด็กและเยาวชนได้รับประโยชน์เป็นที่ประจักษ์ คนทำงานและหน่วยงานมีความพึงพอใจและภาคภูมิใจ
เราจะร่วมกันพัฒนาต่อไปเราจะร่วมกันพัฒนาต่อไป ขอบคุณ