420 likes | 704 Views
รวมพลัง สร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ. โดย ดร ศันสนีย์ กีรติวิริยาภรณ์. สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม. www.adeq.or.th. 10-12 มีนาคม 2554. ศูนย์รวมตะวัน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี. สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม. การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ.
E N D
รวมพลัง สร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ โดย ดร ศันสนีย์ กีรติวิริยาภรณ์ สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม www.adeq.or.th 10-12 มีนาคม2554 ศูนย์รวมตะวัน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการการสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ เป็นการดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตของพนักงานในสถานประกอบการ ด้วยการดำเนินการด้านต่างๆ เพื่อควบคุมปัจจัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อาทิ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน การป้องกันอุบัติเหตุจากการเดินทาง ฯลฯ นอกเหนือจากการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน http://www.adeq.or.th
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพของคนทำงานปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพของคนทำงาน ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม (ทั้งในเชิงกายภาพ ชีวภาพ และสังคม) พฤติกรรมการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการดำเนินชีวิตมีอิทธิพลต่อสุขภาพของเรามากที่สุด http://www.adeq.or.th
ตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ • การสูบบุหรี่ • การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ • การเล่นการพนัน • พฤติกรรมการเดินทางที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ • ฯลฯ
การสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เป็นกระบวนการ ไม่ใช่เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นเฉพาะกิจ หรือเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ดังนั้นจำเป็นต้องทำอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน และต่อเนื่อง...
การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการการสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ สามารถส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับต่างๆ • คนทำงานเกิดความตระหนักในเรื่องสุขภาพมากขึ้น • คนทำงานมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม • มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี http://www.adeq.or.th
ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ • เจ้าของ/ผู้บริหาร (เห็นความสำคัญ) • คณะทำงาน หรือผู้รับผิดชอบงานเรื่องนี้โดยตรง (เห็นความสำคัญ มีทักษะ ความรู้และกระบวนการเรียนรู้) • พนักงาน (เห็นความสำคัญ) • การดำเนินงาน : เป็นระบบ เน้นสร้างการมีส่วนร่วม และต้องต่อเนื่อง • มีนโยบาย เป้าหมายและตัวชี้วัด ที่ชัดเจน • มีแผนปฏิบัติการ • มีกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยง (บุหรี่ แอลกอฮอล์ การพนัน อุบัติเหตุ ฯลฯ) ครบทุกด้าน มีทิศทางที่สอดคล้องกัน เสริมแรงซึ่งกันและกัน
ปัจจัยที่ไม่เอื้อ • ต่างคนต่างทำ ผลักดันเฉพาะในส่วนที่ตัวเองรับผิดชอบไม่บูรณาการงานอย่างจริงจัง • เจ้าของ/ผู้บริหาร คณะทำงาน พนักงานให้ความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพน้อย • ทำงานตามลำพัง ไม่มีภาคีเครือข่าย http://www.adeq.or.th
กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็นระบบกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็นระบบ ในสถานประกอบการ http://www.adeq.or.th
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ ??? (ควบคุมการสูบบุหรี่ เหล้า การพนัน ลดอุบัติเหตุ) เป็นสถานประกอบการที่มีการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง • มีนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ เช่น นโยบายไม่รับผู้สูบบุหรี่เข้าเป็นพนักงาน หรือมีเงื่อนไขไม่สูบบุหรี่ในที่ทำงาน • มีคณะทำงานสร้างเสริมสุขภาพ • มีพื้นที่ดำเนินงานทั้งหมด เป็นเขตปลอดบุหรี่ (เหล้า การพนัน) และห้ามจำหน่ายบุหรี่ (เหล้า การพนัน) • จำกัดการสูบบุหรี่ให้อยู่ในพื้นที่เฉพาะ เขตสูบบุหรี่ • มีการให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของและแนวทางในการเลิกบุหรี่ เหล้า การพนัน รวมทั้งส่งเสริมการเดินทางที่เหมาะสม • มีพื้นที่หรือเครื่องมือในการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ เหล้า เช่น คลินิกเลิกบุหรี่-เหล้า มีสนามกีฬา หรือพื้นที่ออกกำลังกาย • มีจำนวนพนักงานที่ติดบุหรี่-ติดเหล้าลดลง
จากนี้ไปต้องทำอะไรบ้าง ??? ขั้นตอนการพัฒนาสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ จัดตั้งคณะทำงานและสร้างทีมงาน กำหนดนโยบาย เสริมสร้าง/พัฒนาศักยภาพของคณะทำงาน สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่ม เหล้า เล่นการพนัน การเดินทางของพนักงาน จัดทำแผนปฏิบัติการสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ประเมินผล พัฒนาแผนฯ เป็นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับงบฯ สนับสนุน
1. กำหนดนโยบายสถานประกอบการ สร้างเสริมสุขภาพ • เป็นนโยบายที่เป็นลายลักษณ์อักษร • มีวิธีการจัดทำที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพนักงาน • ผู้บริหารลงนาม • ประกาศหรือประชาสัมพันธ์ให้ทราบอย่างทั่วถึง http://www.adeq.or.th
สาระของนโยบาย • สั้นและกระทัดรัด ใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ • แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจและจุดมุ่งมั่นในการสร้างเสริมสุขภาพ • กำหนดจุดมุ่งหมาย (และสรุปให้เห็นว่าจะมุ่งสู่จุดมุ่งหมายอย่างไร) • แสดงความต้องการที่จะทำให้เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง • อธิบายที่มาหรือเหตุผลที่จะต้องมีนโยบาย • มีรายชื่อคณะทำงาน • ฯลฯ
2. จัดตั้งคณะทำงานและสร้างทีมงาน • คณะทำงาน มีบทบาทสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของสถานประกอบการเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน และมีความต่อเนื่อง โดยการจัดตั้งคณะทำงานสามารถทำได้โดยการ • แต่งตั้ง • ให้แต่ละฝ่าย/แผนกคัดเลือกส่งตัวแทน • เปิดรับสมัคร อย่าลืม! ประกาศรายชื่อคณะทำงาน/บทบาทและหน้าที่ ให้บุคลากรในหน่วยงานรับทราบทั่วกัน
คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ามาเป็นคณะทำงานคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ามาเป็นคณะทำงาน • มาด้วยความเต็มใจและเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงในที่ทำงาน • มีความสามารถทางจิตวิทยา ทักษะการสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์ (เนื่องจากการควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย คณะทำงานจะต้องสามารถประสานและสร้างการมีส่วนร่วมของทุกคนและทุกฝ่ายในองค์กรให้เกิดขึ้นให้ได้ • เป็นแกนนำจากฝ่ายต่างๆ จำนวนคณะทำงานขึ้นอยู่กับจำนวนพนักงานหรือฝ่าย
บทบาทคณะทำงาน • จัดทำนโยบายเสนอผู้บริหาร • กำหนดเป้าหมาย • จัดทำแผนปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยงาน • ประสานงาน ดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด • ประเมินผลการดำเนินงานเทียบกับตัวชี้วัด • และรายงานผล
3. พัฒนาศักยภาพของคณะทำงาน/ทีมงาน • เข้าร่วมกิจกรรมค่ายฝึกอบรม “กระบวนการพัฒนาสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ” ที่ศูนย์รวมตะวัน สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม • เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาด้านการสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ • ศึกษาจากคู่มือการดำเนินงาน • ขอคำปรึกษาเกี่ยวกับการทำแผนปฏิบัติการสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ และข้อเสนอโครงการฯเพื่อของบประมาณสนับสนุน
4. สำรวจสถานการณ์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ ของพนักงานในสถานประกอบการ เพื่อประเมินระดับความรุนแรงของปัญหาและเป็นการหาแนวทางโดยผลจากการสำรวจจะทำให้สถานประกอบการรู้ถึง • สถานการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของพนักงาน เช่น การสูบบุหรี่ : จำนวนคนที่สูบ เพศ ระดับการศึกษาความถี่ของการสูบ ความต้องการเลิกบุหรี่ ฯลฯ • ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของพนักงานต่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ • แนวทางในการดำเนินงาน ที่เน้นการมีส่วนร่วม และลดความขัดแย้ง http://www.adeq.or.th
แนวทางการสำรวจข้อมูลสุขภาพแนวทางการสำรวจข้อมูลสุขภาพ • กำหนดขอบเขตและขั้นตอนการเก็บข้อมูล • จัดทำแบบสอบถามสำรวจพฤติกรรมและทัศนคติความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่/ดื่มเหล้า/เล่นการพนัน/การเดินทางของพนักงาน (สามารถ Down Load จาก Website โครงการฯwww.healthyenterprise.org • ทำการสำรวจข้อมูล ให้มีความกระจายตัวของกลุ่มตัวอย่าง • วิเคราะห์ข้อมูล: หาแนวทางในการจัดการกำหนดเป้าหมาย • นำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ อย่าลืม! ประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจให้ทุกคนทราบด้วย
แบบสำรวจ จำนวน 4 ชุด ดังนี้ • แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ • แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของพนักงาน • แบบสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการเดินทางของพนักงาน • แบบสำรวจพฤติกรรมการและสถานการณ์การเล่นพนันของพนักงาน Download ที่ http://www.healthyehterprise.org
5. จัดทำแผนปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ (แผนฯควบคุมการสูบบุหรี่ เหล้า การพนัน และลดอุบัติเหตุ)
6. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ • ประชาสัมพันธ์การดำเนินการ • รายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆ • ทำกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ • จัดสภาพแวดล้อม เช่น กำหนดเขตปลอดบุหรี่/เขตสูบบุหรี่ • ให้ความรู้แก่พนักงาน เพื่อสร้างความตระหนัก • จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเลิกพฤติกรรมเสี่ยง
7. ประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด และปรับปรุงแก้ไข • ตรวจสอบการดำเนินงาน • จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามความก้าวหน้า • จัดแสดงความก้าวหน้าของการดำเนินงานด้วยกราฟ ตารางรูปภาพหรือวิธีการอื่นๆ • ปรับปรุงแนวทางการดำเนินงาน • รักษามาตรฐาน • ทำการสำรวจเพื่อตรวจสอบการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง • ขอคำแนะนำจากหน่วยงานอื่นๆ ที่ดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
Time Line การปฏิบัติงานของสถานประกอบการ สพส. จัดกิจกรรมสนับสนุนการปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพของสถานประกอบการ สถานประกอบการส่งข้อเสนอโครงการ สถานประกอบการส่งรายงานการดำเนินงาน สพส. แจ้งผลการพิจารณาโครงการ คณะทำงานเข้ารับการอบรม คณะทำงานสำรวจสถานการณ์และพฤติกรรมเสี่ยงในสถานประกอบการ คณะทำงานสำรวจประเมินการเปลี่ยนแปลง ตามตัวชี้วัด คณะกรรมการพิจารณาให้การสนับสนุน สถานประกอบการดำเนินงานตามข้อเสนอโครงการและแผนปฏิบัติการ - ประกาศเจตนารมณ์ - จัดตั้งคณะทำงาน - คณะทำงานจัดประชุมทำแผนปฏิบัติการฯและจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก สสส. - ขอความเห็นชอบจากผู้บริหาร
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นฐานสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นฐาน (HPE Standard) มีการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่างน้อย 1 ประเด็น โดยต้องมีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำงาน เป็นประเด็นหลัก และอาจทำการควบคุมปัจจัยเสี่ยงด้านอื่นๆ (ได้แก่ เหล้า การพนัน และอุบัติเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่ง) พร้อมกันไปด้วย http://www.adeq.or.th
การดำเนินงานของ HPE Standard มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดำเนินการ ดังนี้ • มีนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษร • มีคณะทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ • ไม่มีการจำหน่ายสินค้าที่เป็นบ่อนทำลายสุขภาพทุกชนิด • มีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ • และ/หรือมีการจัดทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ • จัดระบบสื่อสารให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ หรือสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่พนักงาน • มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก ห่างไกลจากปัจจัยเสี่ยง โครงการให้การสนับสนุนทางเทคนิคและสื่อรณรงค์
การดำเนินงานของ HPE Standard (กรณีเลือกทำเรื่องบุหรี่เรื่องเดียว) มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดำเนินการ ดังนี้ • มีนโยบายควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำงาน เป็นลายลักษณ์อักษร • มีคณะทำงานสร้างเสริมสุขภาพ • ไม่มีการจำหน่ายบุหรี่ในสถานประกอบการ • มีการจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย • หรือมีการจัดทำกิจกรรมควบคุมการสูบบุหรี่ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ • มีระบบสื่อสารให้ความรู้แก่พนักงาน • มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก บุหรี่
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับก้าวหน้าสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับก้าวหน้า (HPE Premium) มีการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่างน้อย 2 ประเด็น โดยต้องมีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำงาน เป็นประเด็นหลัก และมีการควบคุมปัจจัยเสี่ยงด้านอื่นๆ (ได้แก่ เหล้า การพนัน และอุบัติเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่ง) พร้อมกันไปด้วย
การดำเนินงานของ HPE Premium มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดำเนินการ ดังนี้ • มีนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษร • มีคณะทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ • มีแผนปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยงาน โดยมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ • มีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงฯ • มีระบบสื่อสารให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ • มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก ห่างไกลจากปัจจัยเสี่ยง • มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ • มีการประเมินผล • ไม่มีการจำหน่ายสินค้าที่เป็นบ่อนทำลายสุขภาพทุกชนิด ดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยโครงการสนับสนุนทางด้านเทคนิคและสื่อ สามารถเขียนข้อเสนอโครงการของบฯ สนับสนุน
การสนับสนุนจากโครงการการสนับสนุนจากโครงการ
1. จัดค่ายฝึกอบรม “กระบวนการขับเคลื่อนสถานประกอบการปลอดบุหรี่”ให้คณะทำงานของสถานประกอบการ จำนวน 5 รุ่น รวม 250 คน สร้างความตระหนัก
รู้จักวิธีการและเครื่องมือในการขับเคลื่อนสถานประกอบการปลอดบุหรี่รู้จักวิธีการและเครื่องมือในการขับเคลื่อนสถานประกอบการปลอดบุหรี่
2. จัดกิจกรรมสัมมนาในประเด็นที่เป็นประโยชน์
3. จัดกิจกรรมรณรงค์สัญจรในสถานประกอบการที่มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ จัดกิจกรรมรณรงค์สัญจร จำนวน 10 ครั้ง
4. สนับสนุนสื่อรณรงค์ภาวะปลอดบุหรี่ในสถานประกอบการ ที่สื่อความหมายโดยตรงถึงพนักงานในสถานประกอบการ
โปสเตอร์เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพโปสเตอร์เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
5. เจ้าหน้าที่โครงการให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
5. มีพี่เลี้ยงให้คำปรึกษาด้านการดำเนินงาน
โครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานโครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน สวัสดี