830 likes | 1.05k Views
Cognitive-Behavioral Therapy รศ. ดร. สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. Cognition – Covert Behavior Private Behavior Knowledge Thinking Believe Attitude Value Attribution Expectation . Three basic assumptions. กิจกรรมทางปัญญามีผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออก
E N D
Cognitive-Behavioral Therapyรศ. ดร. สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต
Cognition – Covert Behavior Private Behavior Knowledge Thinking Believe Attitude Value Attribution Expectation
Three basic assumptions • กิจกรรมทางปัญญามีผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออก • กิจกรรมทางปัญญาสามารถทำให้เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงได้ • การทำให้พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปตามที่ต้องการอาจทำได้โดยการเปลี่ยนแปลงทางปัญญา
A B1 B C Cognition Expectation
Operant Conditioning • B. F. Skinner • BE • B - Behavior(พฤติกรรม) • E– Environment (สภาพแวดล้อม) • A – Antecedents (เงื่อนไขนำ) • C - Consequences (ผลกรรม)
Reinforcement Theory • Positive Reinforcement • Positive Reinforcer (C+) • Negative Reinforcement • Negative Reinforcer • Avoidance Behavior • Escape Behavior
Punishment • Positive Punishment • Negative Punishment • Punisher • Extinction
Social Cognitive Theory • A. Bandura • Social Learning Theory • Acquired • Observational Learning • Model • Live Model • Symbolic Model
Self-Regulation • Self-Awareness • -Self-Observation • -Judgment Process • -Self-Reaction • Self-Efficacy
Information Processing Theory Input Sensory Short Term Long Term Store Memory Memory Selective Attention Rehearsal
Attribution 1. Internal vs External Locus of Control 2. Stable vs Unstable 3. Controllable vs Uncontrollable Expectation Motive
Considering factors before using CBT • Will Power • Self-Awareness • Sense of Self • Sense of Will
Two Basic Models of CBT • Cognitive Restructuring Therapy Teaches clients to change distorted and erroneous cognitions that are maintaining their problem behaviors. Used when clients’ problems are maintained by an excess maladaptive thoughts.
Cognitive Restructuring Techniques: Thought Stopping Rational Emotive Behavior Therapy (REBT) – Ellis Cognitive Therapy – Beck
Cognitive-Behavioral Coping Skills Therapy Teaches clients adaptive responses— Both cognitive and overt behavioral—to deal effectively with difficult situations they encounter. Appropriate for problems that are maintained by a deficit in adaptive cognitions.
Cognitive-Behavioral Coping Skills Therapy Techniques: • Self-Instructional Training • Problem-Solving Therapy
Assessing Cognition • Interview • Self-Recording • Direct Self-Report Inventory • Think-Aloud Procedures
Functional Analysis • Why do clients develop abnormal behaviors/mental disorders? • Can not prove by experiment. • Behavioral Psychologists: Learning • Functional relationship among A (Antecedents) B (Behavior) and C (Consequences)
B.F. Skinner: Operant Conditioning • Antecedents: crowded store • Consequences: increasing behavior • Positive Reinforcer • decreasing behavior • Punisher • Extinction
Increasing Avoidance/Escape Behavior • Negative Reinforcer • Reflex Behavior: Behavior that is elicited by Antecedents
A B C • เมื่อเห็นน้องได้ ดึงของเล่นออก น้องร้องไห้ ของเล่น มาจากน้อง แม่บอกว่าให้พี่ เขาเล่นบ้าง แล้วอุ้มน้องออกไป
A B C • ครูมอบหมาย ทำเสียงก่อกวน ครูดุและไล่ออก งานให้ทำในชั้น แกล้งเพื่อนข้างๆ นอกห้อง ไม่ต้องทำงาน
Expansion of the Functional Analysis of Behavior • Added Cognitive factor (Covert Behavior) in Functional Analysis. • A - Antecedents • B1- Cognition/Affection • B – Behavior • C - Consequences
Using information from an interviewing and self-monitoring(self-recording)
ความคิด • สภาพแวดล้อม อารมณ์ การสนองตอบทาง ร่างกาย พฤติกรรม
ความคิด (พฤติกรรมภายใน) อาจมาจากความเชื่อ หรือสิ่งที่ จำได้ • พฤติกรรม (พฤติกรรมภายนอก) เป็นการแสดงออกที่สังเกตเห็นได้ • การสนองตอบทางร่างกาย การเต้นของหัวใจ การเต้นของชีพจร ความดันโลหิต อุณหภูมิในร่างกาย การหลั่งของเหงื่อ เป็นต้น • อารมณ์ โกรธ เศร้า สุข หงุดหงิด เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับอารมณ์ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับอารมณ์ ความคิด: สายสมรไร้มารยาทมาก ทำให้ฉันเสียหน้าโดยแกล้ง ทำเป็นไม่เห็นฉัน อารมณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น: หงุดหงิด เศร้า กระวนกระวายใจ โกรธ ความคิด: สมชายไม่สนใจฉันเลย ฉันคงจะเป็นคนที่น่าเบื่อมาก อารมณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น: หงุดหงิด เศร้า กระวนกระวายใจ โกรธ
ความคิด: สมชายดูเหมือนว่าจะป็นคนขี้อาย เขาคงจะรู้สึกไม่ค่อยสบาย ใจนักที่จะมองฉัน อารมณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น: หงุดหงิด เศร้า กระวนกระวายใจ โกรธ ความคิด: สายสมรทำงานเอาเปรียบอีกแล้ว เป็นเพื่อนร่วมงานที่แย่มาก อารมณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น: หงุดหงิด เศร้า กระวนกระวายใจ โกรธ
ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับพฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับพฤติกรรม ความคิด: ถ้าฉันไม่ไปกินเดียวนี้ อาหารคงจะหมดแล้ว พฤติกรรม: เดินไปที่ห้องอาหาร ความคิด: มันเป็นมารยาทที่น่าเกลียดมากที่จะรีบไปที่โต๊ะอาหาร ในขณะที่อยู่ระหว่างการสนทนา พฤติกรรม: ยืนรีรอ เพื่อให้การสนทนายุติลง
ความคิด: คุณปู่มือสั่นมากเลย ในขณะที่ถือจานอาหารมาที่โต๊ะ อาหาร พฤติกรรม: รีบเข้าไปช่วยคุณปู่ถือจานอาหาร ความคิด: สมชายดูดีมากเลย ยังไม่เคยเจอใครที่ดูดีและน่าสนใจ เท่าสมชายมาก่อนเลย พฤติกรรม: มองสมชายเกือบตลอดเวลา
ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับการสนองตอบทางร่างกายความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับการสนองตอบทางร่างกาย ความคิด: เครื่องบินบินผ่านพายุ สั่นมาก น่ากลัวว่าจะตก การสนองตอบทางร่างกาย: หัวใจเต้นแรงขึ้น เหงื่อออกเต็ม มือ ความคิด: หัวใจเต้นแรงมากเลย สงสัยหัวใจจะวาย การสนองตอบทางร่างกาย: หายใจเร็วขึ้น หน้ามืดจะเป็นลม
ความคิด: หัวหน้าพูดจาดูถูกเรามากเลย การสนองตอบทางร่างกาย: ความดันโลหิตสูงขึ้น เกิดอาการ เกร็งกล้ามเนื้อ ความคิด: เดียวจะได้เจอสาวในฝันแล้ว การสนองตอบทางร่างกาย: หัวใจเต้นแรงขึ้น
สภาพแวดล้อมมีผลต่อความคิดสภาพแวดล้อมมีผลต่อความคิด ประสบการณ์ในสภาพแวดล้อม ทำให้คนเราเกิดความคิดและ ความเชื่อ การที่คนเรามีประสบการณ์ช้ำเดิม จะทำให้เกิดการตอกย้ำ ความคิด และความเชื่อต่อสิ่งนั้นของคนคนนั้น
นอกจากประสบการณ์ตรงในสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อความคิดและความเชื่อของบุคคลแล้ว ประสบการณ์ทางอ้อมที่คนเราเรียนรู้ก็มีผลต่อความคิดความเชื่อของบุคคลเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้จากวัฒนธรรม ครอบครัว ศาสนา หรือจากสื่อต่างๆ
A – เพื่อนชวนขับรถไปต่างจังหวัด • B1 – ขับรถไปต่างจังหวัดนั้นอันตรายอาจเกิดอุบัติเหตุได้ • B1 – วิตกกังวล กลัว • B – ปฎิเสธการชวนของเพื่อน • C – รู้สึกผ่อนคลาย
Antecedents Mood Thoughts • นั่งอยู่บนเครื่องบิน กลัว เครื่องบินกำลังจะตก เกิดพายุ ปีกเครื่อง ฟ้าจะผ่าเครื่องบิน บินสั่น ปีกเครื่องบินจะ หลุดออกจาก เครื่อง
A – Antecedents/Activating Event • ข้อสอบวิชานี้ยากมาก ฉันต้องการจะผ่านจริงๆ • (A can be internal or external, real or imagined) • (A can be an event in the past, present, or future)
B1 – Thoughts/Beliefs • ฉันต้องทำข้อสอบให้ได้ดี ถ้าฉันทำได้ไม่ดีหรือสอบตก มันแสดงให้เห็นว่าฉันเป็นคนที่แย่มาก • มันแย่มากเลย ถ้าฉันจะสอบตกวิชานี้
B1 – Affection/Mood/Emotion • มีความวิตกกังวลอย่างมากต่อการสอบ • B - Behaviors • หลีกเลี่ยงการลงวิชาดังกล่าว หรือ สมัครงานที่ต้องมีการสอบ
Thought Stopping • Thought Stopping has been successful in treating: • Anxiety • Compulsive Behavior • Headaches • excessive Masturbation • Physical Aggression • Self-Injurious Behaviors
Rational Emotive Behavior Therapy (REBT) • Developed by Albert Ellis • Used to be RET • Early 90’s, Retitled REBT • Psychological problems-negative emotions and maladaptive behaviors__are maintained by the INTERPRETATIONS people give to events in their lives.
Epictetus: Greek Stoic Philosopher • People are disturbed not by things but by the views they take of them.
REBT begins with ABC • A: Activating experience • B: Beliefs, especially the IRRATIONAL • C: Consequences, the neurotic symptoms and negative emotions • Adds D and E • D: Dispute the irrational beliefs • E: Effects of rational beliefs
Irrational Beliefs • Absolute Thinking • Overgeneralization • Catastrophizing • Personal Worthlessness • Sense of Duty (Musturbation Habit)
Disputing Irrational Beliefs • Realistic or Empirical Methods • Logical Methods • Practical or Pragmatic Methods
Created Rational Beliefs • Using Rational Coping Self-Statements • Modeling/Positive visualization • Cost-Benefit Analysis • Relaxation • Reframing • Problem-Solving Method • Unconditional Self-Acceptance
Cognitive Therapy • Aaron Beck • University of Pennsylvania • 1960’s • Assumption: Psychological disorders are maintained by distorted cognition.
Automatic Thoughts • Depression • Anxiety Disorders • Phobias • Obsessive-compulsive Disorder • Panic attack • Personality Disorder
Cognitive Distortions • Arbitrary Inference • Overgeneralization • Selective Abstraction • Personalization • Dichotomous Thinking • Magnification and Minimization