1 / 62

การดำเนินงาน

การดำเนินงาน. สร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จังหวัดยโสธร. ปีงบประมาณ 255 1. ภารกิจในความรับผิดชอบ. ภารกิจที่ 1 : การขึ้นทะเบียนและจัดเครือข่ายหน่วยบริการ. ภารกิจที่ 2 : การลงทะเบียนผู้มีสิทธิ. ภารกิจที่ 3 : การส่งเสริมการพัฒนาและควบคุมกำกับคุณภาพหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ.

skule
Download Presentation

การดำเนินงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงาน สร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551

  2. ภารกิจในความรับผิดชอบภารกิจในความรับผิดชอบ ภารกิจที่ 1: การขึ้นทะเบียนและจัดเครือข่ายหน่วยบริการ ภารกิจที่ 2: การลงทะเบียนผู้มีสิทธิ ภารกิจที่ 3 : การส่งเสริมการพัฒนาและควบคุมกำกับคุณภาพหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ ภารกิจที่ 4: การมีส่วนร่วมภาคท้องถิ่นและภาคประชาชน ภารกิจที่ 5: การคุ้มครองสิทธิ/รับเรื่องร้องเรียน/ประชาสัมพันธ์

  3. ภารกิจในความรับผิดชอบ (ต่อ) ภารกิจที่ 6: การบริหารการเรียกเก็บและการตรวจสอบเวชระเบียน ภารกิจที่ 7 : การบริหารกองทุน และหน่วยบริการคู่สัญญา ภารกิจที่ 8: การสนับสนุนคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ภารกิจอื่นๆ:

  4. ประเด็นที่พื้นที่เกี่ยวข้อง และต้องให้ความสำคัญ • การลงทะเบียนผู้มีสิทธิด้านความครอบคลุมและประสิทธิภาพ • การจัดระบบเพื่อรับงบประมาณกองทุนต่างๆ • กองทุน OP • กองทุน IP • กองทุน PP • กองทุน OP AE / OP HC • กองทุนบริหารจัดการเฉพาะโรค • กองทุนพัฒนาคุณภาพบริการ • การจัดทำแผนการเงินการคลังของหน่วยบริการ • การเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลังหน่วยบริการ

  5. 1. การลงทะเบียนผู้มีสิทธิด้านความครอบคลุม และประสิทธิภาพ

  6. ความครอบคลุมปี 2550

  7. ความครอบคลุม รายอำเภอ /รายเดือน ปี 2550

  8. ข้อมูลผิดพลาด

  9. ประสิทธิภาพการขึ้นทะเบียน รายอำเภอ ปี 2550

  10. การดำเนินงานปี 51 KPI • มีความครอบคลุม National Coverage ร้อยละ 99 ขึ้นไป • มีความถูกต้องของข้อมูลลงทะเบียน ร้อยละ 99 ขึ้นไป

  11. การดำเนินงานปี 51

  12. การดำเนินงานปี 51

  13. 2. การจัดระบบเพื่อรับงบประมาณกองทุนต่างๆ

  14. งบประมาณการบริหารงบเหมาจ่ายรายหัวปี 51

  15. ประเภทกองทุนย่อยในปีงบประมาณ 51 แพทย์แผนไทย งบ CF มาตรา 41 OP 8 1 EMS 7 IP Normal 2 งบเอดส์ 9 IP_HC/AE งบลงทุน 6 คุณภาพบริการ งบรายหัว ฟื้นฟู สมรรถภาพ 5 ช่วยเหลือผู้ให้ OPHC +OPAE +HCitem Instrument DMI PP 3 4

  16. สรุปการเปลี่ยนแปลง ใช้DRG V.4.0ที่พัฒนาเพื่อปรับปรุงในบริการที่มีค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ไม่เหมาะสม และการบริการที่มีรายละเอียดที่ไม่สามารถบันทึกได้ เช่นการผ่าตัดที่มีการทำพร้อมกัน 2 ข้าง/แห่งในครั้งเดียวกัน (การผ่าตัดต้อกระจก 2 ข้างในคราวเดียวกัน) 1. 2. การใช้การบริการเพื่อจัดสรรเงิน โดยผลการบริการใช้ค่าผลรวม ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ปรับค่าตามวันนอน (Adjusted Relative Weight, Adj.RW) ของหน่วยบริการแต่ละแห่ง 3. อัตราค่าบริการสำหรับหน่วยบริการที่ให้บริการผู้มีสิทธิในเขต 8,535บาท/Adj.RW ผู้มีสิทธินอกเขต (ส่งต่อและฉุกเฉินข้ามเขต 9,000บาท/Adj.RW) ทั้งนี้เป็นอัตราก่อนหักเงินเดือน

  17. สรุปการเปลี่ยนแปลง 4. แบ่งเงินเป็นกองทุนผู้ป่วยในเขต ตามค่าอัตราในข้อ 3 ตามบริการของ ผู้ลงทะเบียนหน่วยบริการในแต่ละเขต และแบ่งเป็นยอดเงินงบประมาณ รวม (Global Budget) รายไตรมาส ค่าใช้จ่ายจะแยกเงินสำหรับการ ส่งข้อมูลช้ากว่ารอบ Global ไตรมาสและรายจ่ายที่มีอัตราคงที่ เช่น การส่งต่อไปนอกเขต ดังนั้น อัตราจ่ายภายในเขตจะเป็นไปตามวงเงิน ที่เหลือ (Global Regional Rate) 5. ไม่มีการกันเงินไว้สำหรับกองทุนผู้ป่วยในค่าใช้จ่ายสูง (3 ประเภทการ รักษาคือการผ่าตัดหัวใจ การผ่าตัดสมองจากอุบัติเหตุ และการให้ บริการเคมีบำบัด รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็ง) บริการที่มีค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ มากกว่าหรือเท่ากับ 4.0 โดยจะเป็นการจ่ายจากกองทุนเขตตาม อัตราเขตตามอัตราที่กำหนดในข้อ 4

  18. สรุปการเปลี่ยนแปลง 6. ไม่มีการกันเงินไว้สำหรับกองทุนผู้ป่วยใน กรณีอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน ข้ามเขต โดยจะใช้เงินกองทุนเขต 7. กองทุนกลางจะคงเหลือ กองทุนผู้ป่วยในกรณีสิทธิว่าง สำหรับกองทุนผู้ป่วยนอก(OPAE, OPHC) ค่าใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์ อวัยวะเทียม (Instrument) บริการที่กำหนด และการบริหารจัดการโรคเฉพาะ 8. การจ่ายล่วงหน้าใช้ข้อมูลบริการ 10 เดือนของปี 2550 โดยปรับกลุ่ม วินิจฉัยโรคร่วมเป็นDRG V 4.0ทั้งนี้เป็นการคำนวณสำหรับผู้ป่วยใน จากกองทุนเขต โดยหักเงินค่าใช้จ่ายที่เป็นอัตราคงที่เช่น ค่ารถ Refer การส่งข้อมูลช้าไว้ก่อน ทั้งนี้เงินที่จ่ายล่วงหน้ากรณีผู้ป่วยใน จะนำไป รวมกับการจ่ายล่วงหน้ากรณีเหมาจ่ายรายหัวอื่นๆ และหักเงินเดือนรวม

  19. สรุปการเปลี่ยนแปลง 9. กองทุนที่ไม่ได้นำมาคำนวณจ่ายล่วงหน้า จะคำนวณจ่ายรายเดือน โดยยังไม่หักเงินเดือน 10. การปรับยอดเงินตามบริการจริงของปีงบ 50กับการจ่ายล่วงหน้าปี 51 และหักเงินเดือน โดยจะเริ่มดำเนินการในรอบไตรมาสที่ 2 เป็นต้นไป

  20. การจัดระบบเพื่อรับงบประมาณกองทุนต่างๆการจัดระบบเพื่อรับงบประมาณกองทุนต่างๆ กองทุน OP กองทุน IP กองทุน pp กองทุน OP AE/OP HC กองทุนบริหารจัดการเฉพาะโรค กองทุนพัฒนาคุณภาพบริการ

  21. กองทุน OP

  22. บริการผู้ป่วยนอก • จัดสรรแบบเหมาจ่ายรายหัว (capitation) • ปรับตามโครงสร้างอายุและจำนวนการใช้บริการ (90:10) • เสนอให้ใช้อัตราจัดสรรงบ OP ปี 51เท่ากับปี 50 พัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วยนอกและข้อมูลการเงินการคลัง 600.80 บ/ปชก 645.52 600.80 + 44.72

  23. การดำเนินงานปี 51 KPI • ข้อมูล Individual Record OP มีคุณภาพ (ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา) • ร้อยละ 99 ขึ้นไป

  24. กองทุน IP

  25. บริการผู้ป่วยใน IP normal ระดับเขต • เสนอให้ใช้ DRG version 4 ในการจ่ายชดเชย เพื่อให้สะท้อนต้นทุนที่เหมาะสมยิ่งขึ้น • จัดสรรแบบ global budget ในระดับกองทุนเขตโดยรวมงบ IP normal, HC/AE ไว้ระดับเขต • ราคาต่อนน.สัมพัทธ์เป็นราคาเดียวกันทุกเขตคูณด้วย predicted sum adj rw 51 ในการจัดทำ GLOBAL ระดับเขต • กำหนดอัตราการเรียกกรณีข้ามเขตใช้ราคาเดียว คือ 9,000 บ/adj.RW (ไม่มีหักเงินเดือน) • สำหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์บางประเภทที่มีราคาสูงจะมีการเพิ่มรายการและจัดสรรเพิ่มเติมต่างหาก AE หักส่งต่อ ข้ามเขต HC หักส่งช้า 2.5% กองทุน IP ระดับเขต

  26. ผลกระทบทางการเงิน

  27. การคำนวณเพื่อจ่ายล่วงหน้า IP งบ IP ทั้งประเทศ Baht/adj.RW ประเทศ = Predicted sum adj RW_51 ทั้งปท. Global IP เขต Predicted sum adj RW_51 ในเขต * rate 8535 Predicted sum adj RW_51นอกเขต* rate 9000 +

  28. การคำนวณงบประมาณสุทธิ การคำนวณงบประมาณสุทธิ Predicted sum adj RW_51 รพ. Exclusive บริการในเขต xrate 8535 (ยังไม่หักเงินเดือน) Predicted sum adj RW_51 รพ. Exclusive รับบริการจากนอกเขต xrate 9000(ไม่ต้องหักเงินเดือน) หัก 2.5% เพื่อสำรองกรณีอุทธรณ์ ส่งช้า หัก Fixed Rate ภายในเขต (ค่ารถ Refer ในเขต, มาตรา 7) งบประมาณสุทธิ

  29. การดำเนินงานปี 51 KPI • ข้อมูลผู้ป่วยในที่จัดส่ง สกส. มีคุณภาพ (ถูกต้อง ครบถ้วน • ทันเวลา) ร้อยละ 99 ขึ้นไป

  30. กองทุน pp

  31. กรอบการบริหารงบ PP ปี 2551 คำนวณจาก 253.01 บาทต่อปชก.สิทธิ UC ที่จำนวนปชก.UC 46.477 ล้านคน จัดสรรพร้อมเงื่อนไขผลงานตามcomposite indicator โดย สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager PP capitation (186.27บาทต่อหัว) 63.131 ล้านคน PP Vertical program (15.47) ระดับประเทศ PP Community (37.50) ระดับชุมชน PP Facility (5 กิจกรรมหลัก) (82.43) ระดับ CUP PP Area based (50.87) ระดับพื้นที่ กองทุนตำบล จังหวัดจัดสรรให้ Cup + PCU (คำนวณจาก ปชก.พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) สปสช. สาขาจว. 65% สปสช. สาขาเขต 35 % Cup (Diff. by age group) กรม จังหวัดจัดสรรให้ Cup 5 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก

  32. P&P verticalprogram

  33. P&P community Community-based (37.50) ระดับชุมชน กองทุนตำบล สาขาจังหวัด (คำนวณจากประชากรพื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) CUP สป.สธ. + สาขา กทม.

  34. P&P Express demand Express demand (82.43) ระดับ CUP Diff. by age group หักเงินเดือน UC - pop Non-UC pop - คำนวณวงเงินโดยประกันสังคมจ่ายตาม service ส่วนข้าราชการ&ค่าว่างตามภูมิลำเนา - แจ้งวงเงินทั้งหมดให้จังหวัดจัดสรรต้นปี และ ส่วนกลางโอนตรงให้ CUP CUP CUP

  35. P&P Area based Area based (50.87) หักเงินเดือน 35 % Payment for PP performance base 65 % Provincial • เป็น Intensive จ่ายตามผลงานซึ่ง • พิจารณาจาก composite indicator • เหมาจ่ายรายหัวทั้ง UC pop + Non UC pop ให้ • สสจ. + สาขากทม. เพื่อดำเนินงาน PP ส่วนที่เหลือ, • บูรณาการ DMI, และตามปัญหาด้าน PP ของจังหวัด • ให้มีแผนและกิจกรรมรองรับ รวมทั้งการดำเนินงาน • DMI และแจ้งแผนให้เขตทราบ • ให้มีระบบการติดตามประเมินผล ด้วยข้อมูลเชิง • ประจักษ์

  36. การดำเนินงานปี 51 KPI • งาน PP ตามที่กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องกำหนด

  37. กองทุน OP AE/OP HC

  38. การดำเนินงานปี 51 KPI • ผู้ป่วยตรงตามเงื่อนไขได้รับการเงินชดเชยค่าบริการ • อย่างน้อย ร้อยละ 99 ขึ้นไป

  39. กองทุนบริหารจัดการเฉพาะโรคกองทุนบริหารจัดการเฉพาะโรค

  40. Disease management _51

  41. Disease management _51

  42. การดำเนินงานปี 51

  43. กองทุนพัฒนาคุณภาพบริการกองทุนพัฒนาคุณภาพบริการ

  44. เป้าหมาย คือ หน่วยบริการทุกแห่ง หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ

  45. แนวทางการบริหารจัดการแนวทางการบริหารจัดการ คณะทำงานวิชาการ จัดทำ (ร่าง) เกณฑ์การประเมิน ตัวชี้วัด ฯ ส่วนกลาง กำหนด 7 ข้อ 100 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ระหว่าง 0-5 + ตัวชี้วัดฯระดับเขต (ไม่เกิน 3 ข้อ) คะแนนเต็ม 500 คะแนน

  46. ตัวชี้วัดด้านคุณภาพ (ส่วนกลาง) • การเข้าถึง / ได้รับบริการสาธารณสุขที่จำเป็น (Access to needed care หรือ Effective care delivery) • ความปลอดภัยในการรับบริการ (Safety) • มาตรฐานและธรรมาภิบาลของหน่วยบริการ (Standards and Good governance) • การยอมรับจากผู้ใช้บริการ (Acceptability) • สิทธิการได้รับทางเลือกและการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย (Patient rights, choice and involvement) • ความต่อเนื่องของการได้รับการดูแลสุขภาพ (Continuity) • ประเด็นอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ที่คณะทำงาน ฯ เห็นชอบ

  47. ตัวอย่างแนวทางการจัดการงบ P4P งบคุณภาพบริการ 929.54 ล้านบาท ประชากร UC 46.477 ล้านคน อัตรา 20 บ./คน สาขาเขตพื้นที่ 1 เขต...1 50 ล้านบาท เขต...2 เขต...3 หน่วยบริการรับส่งต่อ 10 แห่ง 25 ล้านบาท หน่วยบริการปฐมภูมิ 50 แห่ง 25 ล้านบาท รพ. ค pcu1 pcu2 pcu3 pcu4 pcu5 pcu6 รพ. ข รพ. ก

  48. ตัวอย่างการจัดสรรงบ P4P

  49. แผนดำเนินการงบ P4P ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการจัดทำรายละเอียดของเกณฑ์การประเมินร่วมกับสาขา เขตพื้นที่ ซึ่งคาดว่าจะสามารถแจ้งให้จังหวัดทราบภายในเดือนมค.51นี้

More Related