1 / 21

มูลค่าเงินในอนาคต มูลค่าปัจจุบัน

มูลค่าของเงินตามเวลา. มูลค่าเงินในอนาคต มูลค่าปัจจุบัน. Time lines แสดงเวลาที่กระแสเงินสดเกิดขึ้น. 0. 1. 2. 3. i%. CF 0. CF 1. CF 2. CF 3. จุดแบ่งช่วง ในตอนปลายงวด ; t=0 คือวันนี้ t=1 คือปลายงวดที่ 1 หรือต้นงวดที่ 2. Time line สำหรับเงิน 100 บาท ในตอนปลายปีที่ 2. 0. 1.

skule
Download Presentation

มูลค่าเงินในอนาคต มูลค่าปัจจุบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มูลค่าของเงินตามเวลา • มูลค่าเงินในอนาคต • มูลค่าปัจจุบัน Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  2. Time lines แสดงเวลาที่กระแสเงินสดเกิดขึ้น 0 1 2 3 i% CF0 CF1 CF2 CF3 จุดแบ่งช่วงในตอนปลายงวด;t=0 คือวันนี้ t=1 คือปลายงวดที่ 1 หรือต้นงวดที่ 2 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  3. Time line สำหรับเงิน 100 บาทในตอนปลายปีที่ 2 0 1 2 ปี i% 100 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  4. Time line สำหรับ ordinary annuity ของเงิน 100 บาท เป็นเวลา 3 ปี 0 1 2 3 i% 100 100 100 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  5. Time line สำหรับเงินงวดที่ไม่เท่ากัน: -50 บาทที่ t = 0, 100, 75, และ 50 บาท ณ ตอนปลายปีที่ 1 ถึง 3 0 1 2 3 i% -50 100 75 50 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  6. หามูลค่าในอนาคตของเงิน 100 บาท ในปีที่ 3 ถ้า i = 10% 0 1 2 3 10% 100 FV = ? การหา FVs (เคลื่อนไปทางขวาบน time line) เรียกว่า การคิดทบต้น (compounding) Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  7. หลังจากปีที่ 1: FV1 = PV + INT1 = PV + PV (i) = PV(1 + i) = 100(1.10) = 110.00 บาท หลังจากปีที่ 2: FV2 = PV(1 + i)2 = 100(1.10)2 = 121.00 บาท Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  8. หลังจากปีที่ 3: FV3 = PV(1 + i)3 = 100(1.10)3 = 133.10 บาท สรุปได้ว่า, FVn = PV(1 + i)n. Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  9. หามูลค่าปัจจุบัน (PV) ของเงิน 100 บาทที่เกิดขึ้นในปีที่ 3 ถ้า i = 10% การหา PVs คือการคิดลด (discounting) ซึ่งเป็นส่วนกลับของการทบต้น 0 1 2 3 10% 100 PV = ? Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  10. Solve FVn = PV(1 + i )n for PV: 3 1    PV = 100    1.10   = 100 0.7513 = 75.13 บาท Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  11. การหาระยะเวลาที่ทำให้มูลค่าในอนาคตเป็นสองเท่าของมูลค่าเริ่มต้นการหาระยะเวลาที่ทำให้มูลค่าในอนาคตเป็นสองเท่าของมูลค่าเริ่มต้น 0 1 2 ? 20% 2 -1 FV = PV(1 + i)n 2 = 1(1 + 0.20)n (1.2)n = 2/1 = 2 nLN(1.2) = LN(2) n = LN(2)/LN(1.2) n = 0.693/0.182 = 3.8 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  12. หาอัตราดอกเบี้ยที่ทำให้เงิน 100 บาทกลายเป็น 125.97 บาทในอีก 3 ปีข้างหน้า 100(1 + i )3= 125.97. (1 + i)3 = 125.97/100 = 1.2597 1 + i = (1.2597)1/3 = 1.08 i = 8%. Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  13. ข้อแตกต่างระหว่างordinaryannuityและannuitydueข้อแตกต่างระหว่างordinaryannuityและannuitydue Ordinary Annuity 0 1 2 3 i% PMT PMT PMT Annuity Due 0 1 2 3 i% PMT PMT PMT PV FV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  14. หามูลค่าในอนาคต (FV) ของเงินงวด 3 ปี งวดละ 100 บาท (ordinary annuity) ที่อัตราทบต้น 10% 0 1 2 3 10% 100 100 100 110 121 FV = 331 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  15. หามูลค่าปัจจุบัน (PV) ของ ordinary annuity 0 1 2 3 10% 100 100 100 90.91 82.64 75.13 248.69 = PV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  16. หา FV และ PV ถ้าเงินงวดเกิดตอนต้นงวด (annuity due) 0 1 2 3 10% 100 100 100 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  17. หา FV:ของเงินงวด (annuitydue) งวดละ $100 เป็นเวลา 3 ปี ที่ 10% 1 2 3 0 10% 100 100 100 110.0 121.0 133.1 FV = 364.1 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  18. หาค่า PV:ของเงินงวด (annuity due) งวดละ $100 เป็นเวลา 3 ปี ที่ 10% 0 1 2 3 10% 100 100 100 90.91 82.64 273.55 = PV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  19. หา PV ของกระแสเงินสดที่ไม่เท่ากันในแต่ละงวด 4 0 1 2 3 10% 100 300 300 -50 90.91 247.93 225.39 -34.15 530.08 = PV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  20. มูลค่าในอนาคตจะมากขึ้นหรือน้อยลงถ้ามีการคิดทบต้นถี่ขึ้น โดยที่ I% ยังคงเท่าเดิม? เพราะเหตุใด? มากขึ้น! ถ้าการคิดทบต้นถี่ขึ้น คือมากกว่าปีละครั้ง เช่นทุกครึ่งปี ทุกไตรมาส หรือทุกวัน ดอกเบี้ยที่จะคิดจากดอกเบี้ยทบต้นก็จะมากขึ้น Sansanee Thebpanya School of Business Administration

  21. 0 1 2 3 10% 100 133.10 ทบต้นทุกปี: FV3 = 100(1.10)3 = 133.10 บาท 0 1 2 3 4 5 6 0 1 2 3 5% 100 134.01 ทบต้นทุกครึ่งปี: FV6 = 100(1.05)6 = 134.01 บาท Sansanee Thebpanya School of Business Administration

More Related