1 / 12

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ. ปี 49-50 อบต. หรือเทศบาลนำร่องอำเภอละแห่ง รวม 888 แห่ง ปี 2551 อบต. หรือเทศบาลที่สนใจและสมัครเข้า ร่วม รวม 2,689 แห่ง

Download Presentation

กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ปี49-50 อบต.หรือเทศบาลนำร่องอำเภอละแห่ง รวม 888 แห่ง ปี 2551 อบต.หรือเทศบาลที่สนใจและสมัครเข้า ร่วม รวม 2,689 แห่ง ปี2552 อบต.หรือเทศบาลที่มีความพร้อมตาม เกณฑ์ที่กำหนด รวม 3,935 แห่ง หรือ 51% ของพื้นที่ ดูแล ปชก.28.6 ล้านคน

  2. เป้าหมายงานเน้นหนักปี 2553 • ทุกพื้นที่ที่พร้อมตามเกณฑ์ • ประมาณ 6,000 กองทุน,75%ของพื้นที่,45 ล้านคน / สมทบ>30 % และ3,000 ล้านบาท • คัดเลือก / เน้นคุณภาพ คณะกก.ชุดใหม่ • ชุดวิทยากรจังหวัด ,ชุดอบรม,กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ กก. • ข้อมูลชุมชน , แผนชุมชน /แผนที่ยุทธศาตร์ • กิจกรรม DM /H1,HIV/TB , คนพิการ /ผู้สูงอายุ • ส่งรายงานการเงิน และ ผลงานผ่าน IT • งานนวัตกรรมระดับจังหวัด / เขต

  3. เป้าหมายแนวทางที่อยากให้เกิดปี 2553 • หน่วยงานสาธารณสุขใน พท. (สสจ. สสอ. สอ. รพช.) รับรู้ เข้าใจ และร่วมติดตามสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่อย่างเข้มแข็งโดยทีมวิทยากรจังหวัด • ขยายพื้นที่ อบต. หรือเทศบาลที่มีความพร้อมและสนใจร่วมดำเนินงานปี 2553 (มีงบสมทบ/มีคณะกก.บริหาร/มีข้อมูลสุขภาพ/มีกิจกรรมพัฒนากรรมการบริหาร) • ทุกพื้นที่มีการประชุมคณะกรรมการฯ มีการอบรมพัฒนาศักยภาพของกรรมการฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนหรือแผนที่ยุทธศาสตร์และทำกิจกรรม(เน้นโรคเบาหวาน ความดัน โลหิตสูง เอดส์ วัณโรค คนพิการ ผู้สูงอายุ) มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส รายปีและรายงานการเงิน มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

  4. เป้าหมายแนวทางที่อยากให้เกิดปี 2553 (ต่อ) • ทุกจังหวัดรวบรวมข้อมูลพื้นที่ที่มีผลงานประสบการณ์โดดเด่นเพื่อเป็นต้นแบบศึกษาเรียนรู้อย่างน้อย 1-2 แห่ง มีการถอดบทเรียนเพื่อเผยแพร่ • ทุกพื้นที่มีและใช้ระบบสารสนเทศข้อมูลสุขภาพชุมชนและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เพื่อประสานข้อมูลกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ กับ สปสช. ส่วนกลาง สาขาเขตและสาขาจังหวัด • มีการติดตามค้นหานวัตกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ • มีรายงานผลงานรายไตรมาส รายปีจากทุกพื้นที

  5. กรอบขั้นตอนการดำเนินงานปี 2553 • 1 – 31 สิงหาคม 2552 รับสมัครกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่,จัดส่งกรอบวงเงินงบประมาณและจำนวนประชากรทุกสิทธิ ,อบต./เทศบาลแสดงความจำนงสมัคร เปิดบัญชีกองทุน เตรียมคัดเลือกคณะกรรมการ • 15 กันยายน ถึง ตุลาคม 2552 กลั่นกรอง,ทำบันทึกข้อตกลงและแต่งตั้งคณะกรรมการฯ,แจ้งจำนวนประชากรและวงเงินที่ สปสช.ต้องโอนพร้อมทั้งจำนวนเงินสมทบจากอบต./เทศบาลที่เข้าร่วมให้ สปสช.ส่วนกลางทราบและโอนเงิน • ตุลาคม ถึง พฤศจิกายน 2552 เบิกจ่ายเงินพื้นที่เก่า,แจ้งจำนวนประชากรที่ไม่ได้เข้าร่วม,เตรียมจัดประชุมชี้แจง/ จัดอบรม คณะกรรมการฯ เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงาน

  6. กรอบขั้นตอนการดำเนินงานปี 2553 (ต่อ) • พฤศจิกายน ถึง ธันวาคม 2552 เบิกจ่ายเงินพื้นที่ใหม่ภายในเดือนธันวาคม 2552 (หลังเดือนธันวาคม 2552 พื้นที่ใหม่ที่ติดปัญหายังไม่ได้โอนเงินได้ขอให้รอสมัครในปี 2554 ) • ธันวาคม 2552ถึง มิถุนายน 2553 ทุกพื้นที่มีการประชุมคณะกรรมการฯ มีการอบรมพัฒนาศักยภาพของกรรมการฯ มีการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนหรือแผนที่ยุทธศาสตร์และทำกิจกรรม(เน้นโรคเบาหวาน ความดัน โลหิตสูง เอดส์ วัณโรค คนพิการ ผู้สูงอายุ) มีการบันทึกรายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส รายปีและรายงานการเงินอย่างต่อเนื่อง • สิงหาคม 2553 จัดงานนวัตกรรมกองทุนระดับจังหวัด/เขต

  7. หลักเกณฑ์การต่ออายุกองทุนฯเก่าหลักเกณฑ์การต่ออายุกองทุนฯเก่า • กองทุนฯ เก่ามีการบันทึกข้อมูลและจัดส่งรายงานประจำปี/รายงานทางการเงิน • มีความพร้อมสมทบเงินและแต่งตั้งคณะกรรมการฯตามประกาศฉบับแก้ไขหลักเกณฑ์ ภายในเดือนตุลาคม 2552 • มีแผนสุขภาพชุมชนหรือแผนที่ยุทธศาสตร์ของกองทุนที่ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมต่อเนื่องทุกปี • ประธานกรรมการ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเลขานุการผ่านการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารกองทุน

  8. หลักเกณฑ์การคัดเลือกกองทุนฯใหม่หลักเกณฑ์การคัดเลือกกองทุนฯใหม่ • ผู้บริหาร อบต.และเทศบาล เห็นชอบและประสงค์เข้าร่วมดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยมีหนังสือแสดงความพร้อมของผู้บริหาร อบต.และเทศบาล • มีการตั้งงบประมาณหรือสมทบเงินในปี 2553 และเปิดบัญชีรองรับ • มีความพร้อมในการตั้งหรือคัดเลือกคณะกรรมการบริหารกองทุนแบบมีส่วนร่วม • มีนโยบายหรือมีแผนจัดทำข้อมูลชุมชน แผนชุมชนหรือแผนที่ยุทธศาสตร์ในพื้นที่ • กรรมการ,เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเลขานุการผ่านการอบรมเตรียมความพร้อม ความเข้าใจกองทุน

  9. ประกาศกองทุนใหม่ • องค์ประกอบกก. เพิ่มผู้ทรง 2 คน/จนท.สธ.,NGO • เพิ่มงบเป็น 40 บาท / คน ,สมทบ > ( 20% - 50 %) • งบบริหารไม่เกิน 10 % , ครุภัณฑ์<20,000 /ชิ้น • งานรักษาพยาบาลปฐมภูมิ

  10. จำนวนประชากรและการโอนงบ ( ณ 1 กค.2552) • ประชากร UC และประกันสังคม ใช้ข้อมูล UC • ข้าราชการใช้ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ • กองทุนเก่าโอนงบภายใน ตค.52 • กองทุนใหม่โอนงบภายใน ธค.52 • หลัง ธค.52 เลื่อนไปตั้งกองทุนในปี งบ 2554

  11. กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 P&P Capitation (199.22 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 64.446 ล้านคน) คำนวณจาก 271.79 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 46.2397 ล้านคน P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Expressed demand (125.64) บริหารแบบเขตบริการสุขภาพภายใต้ อปสข. Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) กองทุน อปท. (40.00) • Diff. by age group • หักเงินเดือน เหลือ Area problem(18.41) + ส่วนที่เหลือจากกองทุน อปท./ประชากรทุกสิทธิ (ระดับประเทศ, ระดับเขต) หน่วย บริการ CUP

  12. กรอบการดำเนินงาน PP ปี 2552 สสจ. และ สาขา กทม.เป็น P&P manager และประเมินผลงานตามcomposite indicator คำนวณจาก 262.06 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.026 ล้านคน PP Capitation (193.72 บาทต่อหัว) 63.614 ล้านคน PP National Priority Program (15.36) ระดับประเทศ PP Community (37.50) ระดับชุมชน Expressed demand (109.86) ระดับอำเภอ PP Area based (31.00) ระดับจังหวัด/เขต กองทุนตำบล (พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) จังหวัดแจ้งผลจัดสรรให้ สปสช.เพื่อโอนให้ Cup & PCU กรม Diff. by age group สปสช. สาขาจว. 70% สปสช. สาขาเขต 30 % UC NON-UC CUP ตามผลงาน Expressed demand 7 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก Sealant เด็กอายุ 6 – 12 ปี, การตรวจคัดกรองความเสี่ยง

More Related