300 likes | 450 Views
พลังงานหมุนเวียน และ ทางเลือกในองค์ประกอบพลังงานของไทย ดร. ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล สัมมนาวิชาการประจำปี 2551 ครั้งที่ 31 คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551. วัตถุประสงค์ของการศึกษา.
E N D
พลังงานหมุนเวียน และทางเลือกในองค์ประกอบพลังงานของไทยดร. ชโลทร แก่นสันติสุขมงคลสัมมนาวิชาการประจำปี 2551 ครั้งที่ 31คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการคาดการณ์แนวโน้ม/การกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานในอนาคตของหน่วยงานด้านพลังงานของประเทศไทย กับ ลักษณะการคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวของหน่วยงานด้านพลังงานในระดับนานาชาติ • เพื่อสะท้อนความสำคัญของการวิเคราะห์ Scenario Analysis • เพื่อสะท้อนความสำคัญของ “ปัจจัยเสี่ยง” เรื่องความจำเป็นในการปรับตัวของภาคพลังงานต่อปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การคาดการณ์หรือการกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานของประเทศไทยการคาดการณ์หรือการกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานของประเทศไทย • ไม่พบการคาดการณ์/เป้าหมายการใช้พลังงานในระยะยาว • มีการคาดการณ์/เป้าหมายการใช้พลังงานในระยะสั้น-ปานกลาง อย่างน้อย 3 กรณี • แผนอนุรักษ์พลังงาน ช่วงปี พ.ศ. 2551-2554 • แผนพลังงานทดแทน 15 ปี(อยู่ระหว่างดำเนินการ) • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2550-2564 (PDP-2007)
ตารางปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้าตามเชื้อเพลิงในปี 2006 กับ 2021 ตามแผน PDP-2007
เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2006 = 136,766 GWh 2021 (PDP) = 297,073 GWh
การคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติการคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติ • มีการศึกษาคาดการณ์แนวโน้มพลังงานของโลก ที่จัดทำโดยหน่วยงานด้านพลังงานระหว่างประเทศต่างๆ จำนวนพอสมควร • World Energy Technology Outlook (WETO-H2) โดย European Commission • World Energy Outlook 2007 โดย International Energy Agency • Energy Technology Perspectives 2008 โดย International Energy Agency • Deciding the Future: Energy Policy Scenarios to 2050 โดย World Energy Council • Annual Energy Outlook 2008 โดย US-Energy Information Administration • The Full Portfolio โดย Electric Power Research Institute • etc.
ปัจจัยเสี่ยง: ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เป็นวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดของโลกในศตวรรษนี้ • จะเป็นปัจจัยที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงที่สุดต่อทิศทางการพัฒนาภาคพลังงานของโลกในระยะปานกลางและระยะยาว • รายงานของ AWG-KP ในการประชุม UNFCCC ที่บาหลี (ธ.ค. 2007) • การปล่อย GHGs ของโลกจะต้องเริ่มลดลงภายใน 10-15 ปี • และลดลงต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของระดับในปี 2000 อย่างมาก ภายในกลางศตวรรษ • ภาคี Annex I ต้องลดการปล่อยลง 25-40% จากระดับปี 1990 ภายในปี 2020
การคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติการคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติ • มีการศึกษาคาดการณ์แนวโน้มพลังงานของโลก ที่จัดทำโดยหน่วยงานด้านพลังงานระหว่างประเทศต่างๆ จำนวนพอสมควร • World Energy Technology Outlook (WETO-H2) โดย European Commission • World Energy Outlook 2007 โดย International Energy Agency • Energy Technology Perspectives 2008 โดย International Energy Agency • Deciding the Future: Energy Policy Scenarios to 2050 โดย World Energy Council • Annual Energy Outlook 2008 โดย US-Energy Information Administration • The Full Portfolio โดย Electric Power Research Institute • etc.
World Energy Technology Outlook (WETO-H2) • เป็นผลการศึกษาร่วมกันของสถาบันวิจัยด้านพลังงานในยุโรป 6 แห่ง ภายใต้การสนับสนุนของ European Commission • พิจารณา 3 Scenarios • Reference Case: แนวโน้มทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเป็นไปในลักษณะปัจจุบัน (มีการจัดการปัญหา Climate Change ในระดับหนึ่ง) • Carbon Constraint Case: ประเทศต่างๆ ร่วมมือรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซ CO2 ในชั้นบรรยากาศที่ระดับ 500 ppm • Hydrogen Economy Case: เริ่มมีการนำเทคโนโลยีไฮโดรเจนมาใช้ในปี 2030 และขยายตัวมากขึ้น
Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG
กรณี A: เปรียบเทียบสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน
กรณี A: เปรียบเทียบสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน 5%
Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG
เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(PDP) = 297,073 GWh 2021(A1) = 297,073 GWh
เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(A2) =297,073 GWh 2021(PDP) = 297,073 GWh
กรณี B: ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน Source: Du Pont (2005), สกว.(2007)
กรณี B: ศักยภาพการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน Source: กระทรวงพลังงาน(2008), Du Pont (2005), สกว.(2007)
กรณี B: ศักยภาพการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน Source: สกว. (2007)
Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG
เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021 (B1) = 281,263 GWh 2021(PDP) = 297,073 GWh
เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021 (B2) = 281,263 GWh 2021(PDP) = 297,073 GWh
เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(PDP) = 297,073 GWh 2021 (B3) = 273,358 GWh
กรณี C: ขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ 30% • ทางเลือกในการบรรลุเป้าหมาย 30% • No electricity from coal & lignite --> 49937 GWh --> 70% ศักยภาพ • No new coal + No lignite + Reduce NG --> 59001 GWh --> 83% ศักยภาพ
Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG
เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(PDP) = 297,073 GWh 2021 (C) = 269,122 GWh
บทสรุป • การวิเคราะห์ Scenario Analysis จะช่วยให้เราเห็นภาพอนาคตที่หลากหลาย และสามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ดีขึ้น • Climate Change เป็น “ปัจจัยเสี่ยง” ที่สำคัญในการกำหนดอนาคตพลังงานโลก • ผลการวิเคราะห์ Scenario Analysis ของภาคการผลิตไฟฟ้าชี้ว่า ประเทศไทยมีศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนและการอนุรักษ์พลังงานในปัจจุบันที่มากเพียงพอที่เราจะเลือก - ไม่พึ่งพิงการใช้นิวเคลียร์ หรือ - ไม่เพิ่มการพึ่งพาถ่านหิน หรือ - จัดการปัญหา Climate Change ในระดับหนึ่ง • ทางเลือกเหล่านี้อาจมีต้นทุนการเงินที่สูงกว่า แต่ก็ช่วยลดต้นทุนสิ่งแวดล้อม ต้นทุนสังคม และ ความเสี่ยงของธุรกิจพลังงานลง
ขอขอบคุณ • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ • อ.ปกป้อง อ.อภิชาติ และ คณะทำงานสัมมนา คณะเศรษฐศาสตร์ • คณาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ คณะเศรษฐศาสตร์ทุกท่าน • ทีมงานสำนักพิมพ์ openbooks • คุณฐาปนพงษ์ ชื่นมะนา และ คุณตฤณ ไอยะรา ผู้ช่วยวิจัย • อ.บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย และ ผู้ร่วมงานสัมมนาทุกท่าน