150 likes | 419 Views
C-Programming. 2004. บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ. C Programming. C-Programming. 2004. มีอะไรบ้างในบทนี้. C Programming. 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C 2.2 ใส่คำอธิบาย (Comment) ลงในโปรแกรม 2.3 การคำนวณในภาษา C 2.4 นิพจน์การคำนวณ 2.5 การคำนวณทศนิยม 2.6 สรุป. โครงสร้างเบื้องต้นของภาษา C.
E N D
C-Programming 2004 บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ C Programming
C-Programming 2004 มีอะไรบ้างในบทนี้ C Programming • 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C • 2.2 ใส่คำอธิบาย(Comment) ลงในโปรแกรม • 2.3 การคำนวณในภาษา C • 2.4 นิพจน์การคำนวณ • 2.5 การคำนวณทศนิยม • 2.6 สรุป
โครงสร้างเบื้องต้นของภาษา C #include <stdio.h> //ส่วนนี้เรียกว่า Preprocesser //เป็นส่วนที่คอมไพเลอร์จะจัดการก่อนที่จะเข้ากระบวนการคอมไพล์โปรแกรม //มักจะขึ้นต้นด้วย.. (#) #include ,#define ฯลฯ //ส่วนของการประกาศตัวแปร แบบ Global ซึ่งอาจจะไม่มีการประกาศตัวแปรหากยังไม่มีการใช้งาน main() { // เป็นฟังก์ชั่นเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรมภาษา ซี ที่ซึ่งจะเริ่มต้นทำงาน และ ปีกกา เปิด ปิด หมายถึง // การเริ่มต้น และ จบ ฟังก์ชั่น { เริ่มฟังก์ชั่น } จบฟังก์ชั่น }
C-Programming 2004 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C C Programming • \a ส่งเสียง Beep • \n ขึ้นบรรทัดใหม่ • \t แท็บในแนวนอน • \b ย้อนกลับไป 1 ตัวอักษร • \v แท็บในแนวตั้ง • \f ขึ้นหน้าใหม่ • \r รหัส Return • \’ แทนตัวอักษร Single Quote(’) • \’’ แทนตัวอักษร Double Quote(’’) • \\ แทนตัวอักษร Backslash(\) • \000 แทนตัวอักษรที่มีค่า ASCII เท่ากับ 000 ในระบบเลขฐานแปด • \xhh แทนตัวอักษรที่มีค่า ASCII เท่ากับ hh ในระบบเลขฐานสิบหก
C-Programming 2004 2.1 รหัสควบคุมในภาษา C C Programming #include<stdio.h> Void main() { printf(“== Welcome == \n\n”); printf(“Alert\a\n”); print(“1 2 \b3 4\n”); printf(“backslash \\ \n”); printf(“show \” \n”); printf(“show \ ‘hello\’ \n”); printf(“ascii \123 \n”); printf(“ascii \x2e \n”); }
C-Programming 2004 2.2 ใส่คำอธิบาย(comment)ลงในโปรแกรม C Programming // ใช้ในการใส่คำอธิบายแบบบรรทัดเดียว โดยจะมีผลให้ข้อความใดๆ หลังจากเครื่องหมาย // ไปจนสุดบรรทัดนั้นๆ เป็นคำอธิบายทั้งหมด /*..*/ ใช้ในการใส่คำอธิบายแบบหลายบรรทัด โดยจะมีผลให้ข้อความใดๆ ที่อยู่ระหว่าง /* และ */ กลายเป็นคำอธิบาย(อาจจะเป็น 1 บรรทัดหรือมากกว่าก็ได้) เช่น /* Program by Sasalak Thongkhao sasalak@riska.ac.th */ //include stdio.h for printf command #include<stdio.h>
C-Programming 2004 2.3 การคำนวณในภาษาซี C Programming เครื่องหมายหรือโอเปอเรเตอร์(Operator) มีดังนี้ + เครื่องหมายบวก(Addition) - เครื่องหมายลบ(Subtraction) * เครื่องหมายคูณ(Multiplication) / เครื่องหมายหาร(Division) % เครื่องหมายหารแบบเอาเศษเป็นคำตอบ(Mod)
C-Programming 2004 2.3 การคำนวณในภาษาซี C Programming ตัวอย่าง math1.c #include<stdio.h> void main() { Printf(“%d\n”,250+43); } %d เป็นการกำหนดรูปแบบของผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มฐานสิบ และแทนที่ลงตรงตำแหน่ง%d 293
C-Programming 2004 2.3 การคำนวณในภาษาซี C Programming ตัวอย่าง math1update.c #include<stdio.h> void main() { printf(“Answer is %d.\n”,250+43); printf(“%d %d\n”,5-3,10-2); printf(“%d \n”,5*5); printf(“%d \n”,7/3); printf(“%d \n”,7%3); } Answer is 293 2 -22 25 2 1
C-Programming 2004 2.4 นิพจน์การคำนวณ C Programming ลำดับการคำนวณนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ • เครื่องหมายที่อยู่หน้าตัวเลข เช่น -2 • (...) วงเล็บ • *,/ เครื่องหมายคูณและหาร • +,- เครื่องหมายบวกและลบ
C-Programming 2004 2.4 นิพจน์การคำนวณ C Programming ตัวอย่าง math2.c #include<stdio.h> void main() { printf(“A = %d\n”,(10-5)*3+(2+10)/4); } A = 18
C-Programming 2004 2.4 การคำนวณทศนิยม C Programming ใช้ %f (f ย่อมาจาก float) #include<stdio.h> void main() { printf(“Area = %f”,0.43*3*4); } Area = 5.160000
C-Programming 2004 2.4 การคำนวณทศนิยม C Programming ตัวอย่าง math4.c #include<stdio.h> void main() { printf(“Average = %f\n”,(65.5+15.4+22.0)/3); } Average = 34.300000
C-Programming 2004 2.5 สรุป C Programming ในการคำนวณนั้น ไม่ว่าจะเป็นเลขจำนวนเต็มหรือเลขทศนิยมก็ตาม เราสามารถใส่นิพจน์ให้กับการคำนวณได้ เช่น การใส่วงเล็บเพื่อให้ลำดับการคำนวณเป็นไปตามที่ต้องการ และถ้าคาดว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณจะออกมาเป็นเลขทศนิยมเราจะต้องแสดงค่าโดยใช้ %f เพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้อง