1.41k likes | 2.26k Views
แนวทางการดำเนินงาน. อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP). เภสัชกรกนกพร ชนะค้า 6 กันยายน 2555. ความเป็นมา. ข้อตกลงของกลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. ด้านการเมืองและความมั่นคง. ด้านสังคม. ด้านเศรษฐกิจ. ความร่วมมือในภูมิภาคอาเซียน.
E N D
แนวทางการดำเนินงาน อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย (Primary GMP) เภสัชกรกนกพร ชนะค้า 6 กันยายน 2555
ความเป็นมา ข้อตกลงของกลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ความร่วมมือในภูมิภาคอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community:AEC 2558) ความสามารถในการแข่งขันกับผู้ผลิตในประเทศเพื่อนบ้าน? กำหนดให้อาหารแปรรูป ต้องปฏิบัติตาม GMP
ธุรกิจอาหาร Mass Production จำหน่ายแพร่หลาย อาหารที่ผ่านการแปรรูป(อาหารทั่วไป)ที่อยู่ในภาชนะพร้อมจำหน่าย อาหารพื้นบ้าน ของฝาก OTOP ผู้ประกอบการประสงค์ขอมี เลขสารบบ
มาตรการทางกฎหมายอาหารแปรรูปที่บรรจุในมาตรการทางกฎหมายอาหารแปรรูปที่บรรจุใน ภาชนะพร้อมจำหน่าย 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบที่ 342)พ.ศ. 2555 เรื่องวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและ เก็บรักษาอาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย 3 สำนักงานคณ:กรรมการอ!หาร!เละยา กระทรวงสารารณสฃ
สาระสำคัญของประกาศฯ (ฉบับที่ 342)พ.ศ.2555 กำหนดนิยาม อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย •อาหารที่ฝานกระบวนการแปรรูป •อาหารที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของอาหาร • อาหารที่ผ่านกระบวนการผลิตแล้ว - "บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย" ต้องปฏิบัติPrimary GMP" 4
โดยไม่รวมอาหารควบคุมเฉพาะ อาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน และอาหารที่ต้องมีฉลาก ที่มีกฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติตาม GMP
พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 สถานท/กรรมวิธการผลิต ม.6(7) พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 อาหารทั๋วไป ไม่แปรรูป แปรรูปไม่ จำหน่ายต่อ ผู้บริโภค กฎกระทรว ง ฉบับที่ 1 •อาหารพร้อมปรงและอาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคทนท (นอกเหนอจาก ผลิตภัณฑ์จากเนอสัตว์ ผลิตภัณฑ์ขนมอบ และอาหารพร้อมปรุงที่เป็นชุด) •อาหารทั่วไป (นอกเหนอจาก ก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ อาหารแช่เยอกแข็ง) สำนักงานคณะกรรมการอใหารแล:ยา กระทรวงสารารท!สฃ
อาหารที่กำหนดให้ต้องปฏิบ้ติตาม General GMP 57 ประเภท อาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน 15.น้ำแข็ง 1 6.ชา 1 7. กาแฟ 1 8.น้ำปลา 1 9.น้ำแร่ธรรมชาติ 20.น้ำส้มสายชู 21 .น้ำมนและไขมัน 2 2.นามันถั่วลิสง 23.ดุรีม 24.น้ำมันเนย 25.เนย 2 6. เนยแข็ง 27.กี 28.เนยเทียม 29.อาหารกึ่งสำเร็จรูป 30.ชุอสบางชนิด 31.น้ำมันปาล์ม 3 2 .น้ำมันมะพร้าว 33.เครื่องดมเกลือแร่ 34.นานมถั่วเหลืองในฺภาชนะบรรจุที่ปีด สนิท (ยกเว้นที่มีสถานที่ผฺลิตที่ไม่เข้าลํกษณะ เป็น‘โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน) 3 5.ช็อกโกแลต 36.แยม เยลลื มาร์มาเลต ในภาชนะ บรรจุทีปีดสนิท 37.ไขเยียวม้า 3 8.รอยัลเยลลีและผลิ.ตภัณฑ์รอยัลเยลลื 39.ผลิตภัณฑ์ปรุงรสทีได้จากการย่อย โปร!นJองถั่วเหลอง 40.นาผง (ยกเว้นที่มีสถานที่ผลิตที่ไม่เข้า ลักษณะเป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วย โรงงาน) 41.ชุ้าวเติมวิตามิน 42.น้ำเกลือ'ปรุงอาหาร 4 3.ชาสมุนไพร 44. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อาหารทีต้องมีฉลาก 45.อาหารทีมีวัตถุประสงด์พิเศษ 46.แป้งข้าวกล้อง 47.ซอสในภาชนะบรรจุที่ปีดสนิท 48.ขนมปัง 49.หมากฝรั่งและลูกอม 5 0 .วุ้นสำเร็จรูปและขนมเยลลี่ 51 .ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ 52.วัตถุแต่งกลิ่นรส 53.อาหารพร้อมปรุงทีได้จัดเตรียม ส่วนประกอบต่าง ๆ แยกจากกันเป็น ส่วนๆ ชัดเจน และจัดรวมเป็นชุดไว้ ในหน่วยภาชนะบรรจุ เพื่อฺนำไปปรุง เป็นอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ 54.ผลิตภัณฑ์ขนมอบ (Bakery product) 55.ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ตามประกาศกระทรวงสาธารฺณสุข (ฉบบที่ 243) พ.ศ.2544 เรื่อง, ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ อาหารควบคุมเฉพาะ 1.อาหารทารกและเทหารสูตรต่อเนื่อง สำหรับทารกและเด็ก 2.อาหารเสริมสำหรับทารกและเด็กเล็ก 3.นมดัดแปลงสำหรับทารกและนม ฒัๆแปลงสูตรต่อเนองสำหรับทารกและ เด็กเล็ก ™ 4.เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุทีปีดสนิท 5.อาหารในภาชนะบรรจุทีปีดสนิท 6.นมโค 7.นมเปรี้ยว 8.ไอศกรีม 9.นมปรุงแต่ง 1 0.ผลิตภัณฑ์ของนม 1 1.วัตถุเจือปนอาหาร 1 2.โซเดยมชัยคลาเมตและอาหารทีม โซเดียมชัยคลาเมต 13.อาหารสำหรับผู้ทีต้องการควบคุม นำหนัก 1 4.สตีวิโอไซด์และอุาหารุทีมีส่วนผสม ของสตีวิโอไซด์ (อยู่ระหว่างยกเลิก ปสธ 262 ) อาหารทั่วไป 56.อาหารแช่เยือกแข็งทีได้ผ่านการ เตรียม (prepared) และหรือการแปร รูป (processed)* 57.ก๋วยเตี๋ยวและเส้นหมีทีทำจากแป้ง ข้าวเจ้า
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบที่ 342) พ.ศ. 2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษา อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ระยะเวลาบังคับใช้ตามกฎหมาย ภายใน 3 ปีหลังจากวันที่ประกาศใช้ 7 พฤศจิกายน2555 ผู้ประกอบการรายเก่า หลังจากพ้นกำหนดวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา180 วัน 7 พฤศจิกายน 2558 ผู้ประกอบการรายใหม่
หลักเกณฑ์ Primary GMP 4การสุขาภิบาล กระบวนการผลิต 5 การบำรุงรักษา ทำความสะอาด 2เครื่องมือ เครื่องจักร &อุปกรณ์การผลิต & 1 สุขลักษณะของสถานทีตั้ง &อาคารผลิต บุคลากร
GMP :Good Manufacturing Practice O เกณฑ์หรือข้อกำหนดพื้นฐานที่จำเป็นในการ ผลิต & การควบคุมเพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัตตาม O เน้นการป้องกัน และขจัดความเสี่ยงที่ทำให้อาหารเป็นพิษ เป็น อันตราย หรือทำให้เกิดความไม่ปลอดภัย จี.เอ็ม.พี.
อันตราย 3 ประการ ความปลอดภัยปลอดภัยจากอันตราย...3 ประการ 10
หวใจ 3 ประการ ของการผลิตอาหารทีปลอดภย หัวใจทีj1 ลดอันตรายเบื้องต้นคัดเลือกวัตถุดิบ ส่วนผสมที่มีคุณภาพดี ใช้ภาชนะบรรจุที่สะอาดและมีการล้างทำความ สะอาดรวมทั้งผลิตในสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีและเครื่องมือ อุปกรณ์ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน หัวใจที 2 ลด/ยับยั้ง-ทำลายเบื้อจุลินทรีย์ใช้ความร้อนฆ่าเชื้ออย่างเพียงพอ หัวใจที 3 ป้องกันการปนเปื้อนซ้ำ โดยการปฏิบัติงานอย่างถูกสขลักษณะ CM QJ จิ แยกระหว่างของสก และของดิบ
หลักการของ GMP ระบบ ปฏิบัติการ บุคคลากร โครงสร้างพื้นฐาน 3 การควบคุมกระบวนการผลิต 4 การสุขาภิบาล 5 การบำรุงรักษาและการทำความสะอาด 1 สถานที่ตั้งและ อาคารผลิต 2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต 6 บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน
หลแกเกณฑ์สถานทีผลิต Primary GMP 4การสุขาภิบาล กระบวนการผลิต การบำรุงรักษา ทำความสะอาด เครื่องมือเครองจักร & อุปกรณ์ที่ใช้ในกา 2 & สุขลักษณะของสถานทีตั้ง & อาคารผลิต บุคลากร คะแนนรวม = 60คแนนะ
1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต หมวดที่ 1 คะแนนรวม = 11 คะแนน
เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหารเปรียบเทียบหลักเกณฑ์และบันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร
1. สถานทีตั้งและอาคารผลิต จากสิ่งแวดล้อมภายนอกเข้าสู่ภายในบริเวณอาคารผลิต จากอาคารผลิตเข้าสู่กระบวนการผลิต รวมถึงจากสายงานการผลิต มีหน้าที่ป้องกันการปนเปีอนข้าม(Cross Contamination) 2
1.1สถานที่ตั้ง ต้องหลีกเลี่ยงบริเวณซึ่งมีโอกาสก่อให้เกิดการปนเปื้อนสู่ภายในอาคารผลิต แหล่งสะสมของขยะ แหล่งนาเน่าเสีย หรือมีน้ำขัง บริเวณที่มีฝุ่น หรืออากาศเป็นพิษ สัตว์ แมลง นำโรค และพาหะ
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1(1)ไม่มีการสะสมของสิ่งที่ไม่ใช้แล้ว ถ้าจำเป็น ต้องมี...มาตรการป้องกัน การปนเปื้อนทีเหมาะสม ■ จัดเป็นบริเวณแยกเป็นสัดส่วน ■ ไฝวางชิดกำแพงอาคาร ■ มีการดูแลทำความสะอาดสม่ำเสมอ เป็นต้น อันตราย : การปนเปื้อนข้ามฝุ่นละออง สิ่งสกปรก สัตว์พาหะ (ที่ซุกซ่อน) เช่น อุปกรณ์ที่ชำรุด, ภาชนะบรรจุที่ โม่ใช้วัตถุดิบที่รอส่งคืนเครื่องแต่งกายและของใช้ส่วนตัว เป็นต้น
1.1สถานที่ตั้งตัวอาคารและที่ใกล้เคียง1.1สถานที่ตั้งตัวอาคารและที่ใกล้เคียง 1.1 (1) ไม่มีการสะสมสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว food and drug administration
1.1สถานที่ตั้ง 1.1 (2)ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล จนก่อให้เกิดกลิ่น และ/หรือเป็นแหล่งเพาะพ้นธ์สัตว์และแมลง และเชื้อโรคต่ อันตรายสิ่งปฏิกลรวมถึงของเสียที่เน่าเปื่อยไต้ เซ่น เศษ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์วัตถุดิบหรืออาหารทั้งจากการผลิตและ แมลงและเชื้อโรคต่าง ๆหรือกิจกรรมอื่น เปีนต้น • เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและเชื้อโรคต่างๆ • ก่อให้เกิดกลิ่นอันน่ารังเกียจ
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (2) ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (3)ไม่มีฝุ่นควันมากผิดปกติ ก่อให้เกิดความไม่สะดวกในการทำงานและปนเปื้อนต่อ กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์
1.1. สถานที่ตั้ง 1.1(4) ไม่มีวัตถุอันตราย ไม่มีวัตถุอันตรายและสารเคมีอันอาจก่อให้เกิด การปนเปื้อนกับกระบวนการผลิตและเป็นอันตรายต่อ ร่างกาย ควรพิจารณากลิ่นสารเคมีที่อาจปนเปื้อนไปในบริเวณผลิต/ ผลิตภัณฑ์
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (5) ไม่มีคอกปศุสัตว์หรือสถานเลี้ยงสัตว์ หรือสัตว์เลี้ยง หากอยู่ภายในอาณาเขตแต่มีระยะห่างและมีมาตรการ เพียงพอ ที่ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนเข้าสู่อาคารผลิต ให้พิจารณาตามความเหมาะสมและควรพิจารณาถึงกลิ่นจากคอกปศุสัตว์หรือสัตว์เลี้ยงด้วย อันตราย เป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์แมลงและเชื้อโรคต่าง ๆ เป็นพาหะนำโรคและสิ่งสกปรก ปนเปีอนสู่กระบวนการผลิตและ ผลิตภัณฑ์ หากอยู่ภายในอาณาเขต • ต้อง...มีระยะห่างและมีมาตรการเพียงพอที่ไม่ก่อให้เกิด การ ปนเปื้อนเข้าสู่อาคารผลิต รวมถึงสัตว์เลี้ยงด้วย 35
1.1 สถานที่ตั้ง ๙ 1.1(5) ไม่มีคอกปศุสัตว์หรือสถานเลี้ยงสัตว์
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (6) ไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก ไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก จนอาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนกับกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ได้ เะ
1.1 สถานทีตั้ง 1.1 (6)ไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (7) มีท่อหรือทางระบายน้ำนอกอาคารเพื่อระบายน้ำทิ้ง สามารถรองรับน้ำทิ้งจากภายในอาคารและน้ำฝน อยู่ใน ลักษณะที่ดี ไม่แตกรั่ว เพื่อระบายออกทางระบายน้ำสาธารณะได้ • ไม่จำเป็นต้องมีตะแกรงปิดครอบ • ควรมีตะแกรงดักเศษอาหารที่ปลายท่อ เพื่อป้องกัน การอุดดัน ข้อแนะนำ : บริเวณที่ตั้งอาคารผลิตไม่อยู่ใกล้กับบ่อบำบัดนํ้าเสียซึ่งอาจทำให้เกิดการ ปนเปื้อนลงสู่กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์หรือก่อความไม่สะดวกในการทำงาน
1.1 สถานที่ตั้ง 1.1 (7) มีท่อหรือทางระบายน้ำนอกอาคารเพื่อระบายน้ำทิ้ง
1.2 อาคารผลิตหรือบริเวณผลิต ♦♦♦ สะอาด ถูกสุขลักษณะ ♦♦♦ แยกบริเวณผลิตเป็นลัดส่วน ♦♦♦ ระบบแสงสว่างและการระบายอากาศ♦♦♦ สามารถป้องกันลัตว์แมลง
1.2.1 สะอาด ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ และไม่มีสิ่งของทีใช้แล้ว อาคารผลิต หรือบริเวณผลิต มีสภาพสะอาด มีการจัดการรักษาสภาพ อาคารให้มีความเป็นระเบียบ ถูกสุขลักษณะ ไม่มีสิ่งของไม่ใช้แล้ว และไม่ เกิดการปนเปีอนสู่ผลิตภัณฑ์ สะดวกและเหมาะสมในการปฏิบตงาน
1.2.1 สะอาด ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ และไม่มีสิ่งของทีใช้แล้ว ■ food and drug administration
1.2.1 สะอาด ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ และไม่มีสิ่งของที่ใช้แล้ว เช่น บริเวณบรรจุ บริเวณเก็บผลิตภัณฑ์ทีผ่าน ความร้อนแล้ว ต้องไม่มีสิ่งของหรือกิจกรรมอื่นที่ ไม่เกี่ยวข้องวางปะปน รวมถึงเศษวัตถุดิบหรือ อาหารทั้งจากการผลิต และ/หรือกิจกรรมอื่น ภายในบริเวณผลิต ควรมีมาตรการดูแลและจัดการ อย่างเหมาะสม ไม่ควรปล่อยให้มีการสะสมจน ก่อ ให้เกิดกลิ่นและ/หรือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ แมลง และเชื้อโรคต่าง ๆ
1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย และผลิตภัณฑ์อื่นๆ 45 สำนักงานคณะกรรมกา รอาหารน.ละรา food and drug administration
1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ข้อแนะนำ 1. กรณีผลิตใกล้ที่พักอาศัยให้แยกไม่ปะปนกับที่พักอาศัย สามารถป้องกันการเกิดการปนเปื้อนต่อกระบวนการผลิตและ ผลิตภัณฑ์ อันเนื่องจากผู้ไม่เกี่ยวข้อง 2. กรณีสถานที่ผลิตขนาดเล็ก ซึ่งมีชั้นบนเป็นที่พักอาศัยและมี บันไดขึ้น-ลง อยู่ตรงบริเวณที่เป็นทางผ่านไปยังบริเวณผลิต กันก่อให้เกิดการปนเปื้อนข้ามไปสู่ผลิตภัณฑ์ได้ทั้งจากการที่มี ผู้เดินผ่านไปมาหรือจากการทำความสะอาดที่พักอาศัย ควร แนะนำ
1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ข้อแนะนำ 2.1 จัดหาทางขึ้น-ลงที่พกอาศัยใหม่ โดยแยกเป็นสัดส่วนจาก บริเวณผลิต 2.2 หากไม่สามารถหาทางขึ้น-ลงใหม่ได้ให้กั้นบริเวณทางขึ้น ลงที่พักอาศัยเป็นสัดส่วนจากบริเวณผลิตอย่างถาวร และปิด ช่องบันไดทางขึ้นลงให้ทึบเพื่อปีองกันการปนเปื้อนในอาหาร
1.2.2 มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากทีพักอาศัย และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ข้อแนะนำ 3. กรณีสถานที่ผลิตอยู่ภายในบริเวณที่พักอาศัยให้แยกเป็น สัดส่วนสามารถป้องกันการปนเปื้อนต่อกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ อันเนื่องผู้ไม่เกี่ยวข้องได้ 4. กรณีไม่สามารถปฏิบัติตามข้อ 1- 3 และจำเป็นต้องใช้ทางขึ้น ลง เดิมโดยหลีกเลี่ยงไม่ไต้จะต้องมีมาตรการอื่นที่เหมาะสม เพื่อแสดงว่าสามารถป้องกันการปนเปื้อนข้ามไต้จริง
สถานที่ผลิตแยกไม่เป็นสัดส่วนกับที่พักอาศัยสถานที่ผลิตแยกไม่เป็นสัดส่วนกับที่พักอาศัย โดยใช้ชั้นบนเป็นที่พัก และต้องผ่านพื้นที่การผลิตขึ้นไป
1.2.3 มีแสงสว่างเพียงพอสำหรับการปฏิบ้ตงาน - มีแสงสว่างที่เพียงพอ - โดยเฉพาะในจุดที่มีผลต่อความผิดพลาดในการปฏิบัติงานและมีผลต่อการควบคุมอันตรายในอาหาร เช่น • บริเวณชั่งสารเคมี • บริเวณคัดเลือกวิตถุดิบ • บริเวณล้างภาชนะบรรจุ • บริเวณบรรจุ
1.2.4 มีการระบายอากาศที่เหมาะสมสำหรบการปฏิบัติงาน มีการระบายอากาศที่เพียงพอ ไม่อับชื้น เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การทำงานและป้องกันการปนเปื้อนจากเชื้อจุลินทรีย์โดยเฉพาะเชื้อรา จากบรรยากาศต่อกระบวนการผลิตและผลิตกัณฑ์โดยต้องคำนึงถึง การไหลเวียนอากาศจากสถานที่สะอาดไปยังสถานที่ที่ไม่สะอาด
1.2.4 มีการระบายอากาศที่เหมาะสมสำหรับการปฏิบัติงาน การติดตั้งอุปกรณ์ระบายอากาศ ต้องคำนึงถึงการไหลเวียนของ อากาศด้วย เพื่อไม่ให้ความร้อนไล่อากาศดีออกไป
1.2.5 มีท่อหรือทางระบายน้ำทิ้ง ท่อหรือทางระบายนํ้าควรมีขนาดเหมาะสมในการรองรับ ปริมาณน้ำทิ้งจากกระบวนการผลิต เพื่อไหลลงสู่ทางระบาย ทางสาธารณะภายอก
1.2.6 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร FJ^^ (11 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์ และแมลง อาจมีการติดตั้ง เซ่น มุ้งลวด ม่าน พลาสติก ตาข่าย
1.2.6 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร ข้อแนะนำ - การปิดกั้นด้วยมุ้งลวดหรือตาข่ายรอบอาคารผลิต ต้องระบายอากาศได้และ สามารถป้องกินสัตว์และแมลงได้ ควรคำนึงถึงแสงสว่าง การระบายอากาศ และความร้อนจากการผลิต เช่นการต้ม ทอด - กรณีที่สถานที่ผลิตมีข้อจำกัด ซึ่งผู้ผลิตไม่สามารถกั้นหรือติดมุ้งลวดใน บริเวณต้ม หรือ ตากแดด หรือ ทอดได้ ต้องมีมาตรการเพื่อสามารถป้องกันสัตว์แมลง ได้ เซ่น
1.2.6 อาคารผลิตสามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง เข้าสู่บริเวณผลิตหรือสัมผัสอาหาร 1) บริเวณต้ม-ทอด หรือ ตากแดด โดยรอบมีสภาพแวดล้อมที่ดี เช่น ไม่พบสัตว์พาหะและแมลงในขณะปฏิบัติงาน 2) ในการขนย้ายผลิตกัณฑ์เพื่อมาต้ม-ทอด หรือตากแดด มี มาตรการป้องกันสัตว์พาหะและแมลงสำหรับผลิตกัณฑ์นั้น เช่น มีภาชนะปกปิดมิดชิดเพื่อไม่ให้สัตว์และแมลงปนเปื้อน ในอาหาร 3) หลังการต้ม-ทอด หรือตากแดด มีมาตรการป้องกันการ ปนเปื้อน โดยต้องผึ่งเย็นในห้องผลิตที่มีการติดมุ้งลวดใน สภาพใช้งานได้อย่างมีประลิทธิภาพ food and drug administration