510 likes | 641 Views
ประเด็นนำเสนอ. 1. (ร่าง) การบริหารงบกองทุนปี 2556 งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว - งบบริการ P&P ปี 2556 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขระดับเขต - สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค - ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน - ปฐมภูมิ - แพทย์แผนไทย
E N D
ประเด็นนำเสนอ 1. (ร่าง) การบริหารงบกองทุนปี 2556 งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว - งบบริการ P&P ปี 2556 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขระดับเขต - สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค - ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน - ปฐมภูมิ - แพทย์แผนไทย 3. เกณฑ์ศักยภาพการจัดบริการหน่วยบริการปฐมภูมิ ปี 2556 (Ontop Payment) โดย นายจักรินทร์ ฆ้องวงษ์ หัวหน้ากลุ่มงาน สปสช.เขต 4 สระบุรี
การเตรียมการ จัดประชุมหัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ และผู้รับผิดชอบงานกองทุนย่อยของสาขาจังหวัด 8 จังหวัด จัดทำข้อเสนอการจัดสรร การบริหารงบกองทุนปี 2556 1. งบบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว งบบริการ P&P ปี 2556 ( PPA,P4P(PPE) ) 2. (ร่าง)งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขระดับเขตปี 2556 - สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค , - ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน - ปฐมภูมิ,- แพทย์แผนไทย 3. (ร่าง) เกณฑ์การจ่ายตามเกณฑ์ศักยภาพการจัดบริการของหน่วยบริการ ปฐมภูมิ ปี 2556 18 ตค 2555 1.จัดประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ 5 ยุทธศาสตร์ พิจารณา ข้อเสนอ จากการผลประชุมวันที่ 18 ตค 2555 (ตามร่าง การจัดสรร งบ PP & งบ สนับสนุน 4 กองทุนย่อย) 2. จัดประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ระดับเขต พิจารณา ข้อเสนอ จากการผลประชุมวันที่ 18 ตค 2555 (ตามร่าง เกณฑ์การจ่ายตามเกณฑ์ ศักยภาพการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ ปี 2556) 19 ตค 2555 5 พ.ย 2555 นำเสนอผลการประชุม ต่อ อปสข. เพื่อพิจารณา
บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2556 เขตสุขภาพ 8 จังหวัดภาคกลางตอนบน เสนอในการประชุมชี้แจงฯ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 (พระนครศรีอยุธยา)
งบกองทุน UC ในปีงบประมาณ 2556 งบบริการทางการแพทย์ เหมาจ่ายรายหัว กองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ งบบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ งบบริการผู้ป่วย ไตวายเรื้อรัง งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง
1. บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว หมายเหตุ ประเภทบริการที่ 5 ครอบคลุมประชาชนคนไทยทุกคน
งบบริการ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (p.129-130) (25.72 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) หักเงินเดือน กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) Quality Performance (25.00 บ./คน) Capitation (99.96 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) CUP/สถานพยาบาล กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
Quality Performance (25 บาท/คน) 70 % 17.50 บาท/คน [จัดสรรตามประชากร] 30 % 7.50 บาท/คน [จัดสรรตามผลงาน] 1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุ ครรภ์ ≤ 12 wk 2. ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 3. ร้อยละของประชากรอายุ >15ปี ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์ 4. ร้อยละของสตรี อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัดการบริหารจัดการบริการ PPE ตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (PPE-P4P) • ร้อยละ…………ของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่อ • อายุครรภ์ ≤ 12 wk(น้ำหนักร้อยละ 30) • 2. ร้อยละ…………ของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5(น้ำหนักร้อยละ 20) • 3. ร้อยละ…………ของประชากรอายุ >15 ปี ได้รับการคัด • กรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์(น้ำหนักร้อยละ 20) • 4. ร้อยละ…………ของสตรี อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจ • คัดกรองมะเร็งปากมดลูก (ผลงานปี 2553-2555 ดูเป็นผลงานสะสม) • (น้ำหนักร้อยละ 30) ฐานข้อมูล สปสช.: ปี 2555 (12 เดือน) ตัวชี้วัดทั้ง 4 ตัว ใช้วัดต่อเนื่อง 2 ปี
ขั้นตอนการดำเนินงาน... จัดทำร่างจัดสรร แจ้ง สปสช.สาขาจังหวัด อปสข.พิจารณา สปสช.เขต ภายในเดือน ม.ค. 2556 แจ้งวงเงินสรรงบให้ สปสช.สาขาจังหวัด อปสจ.พิจารณา ภายในเดือนพ.ค. 2556 สปสช.จังหวัด จัดสรรงบให้ หน่วยบริการประจำ
5. งบบริการ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (p.129-130) (25.72 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) หักเงินเดือน กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) Quality Performance (25.00 บ./คน) Capitation (99.96 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) CUP/สถานพยาบาล กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
PPA จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) ส่วนที่เหลือ(9.37 บาท/คน วงเงิน 51,309,302.-) จัดสรรคืนให้กับจังหวัดตามยอดประชากร เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคระดับจังหวัด จัดสรรล่วงหน้าให้กับ CUP ตามผลงาน (8.03 บาท/คน) (วงเงิน 42,320,568.-) 1.ตรวจมะเร็งปากมดลูก 2.ตรวจคัดกรองและยืนยันไทรอยด์ ข้อเสนอ ควรมีกิจกรรมการปรับเปลี่ยนในกลุ่ม Non UC (ประกันสังคมในโรงงาน)เพราะงบปี 2556 ไม่กำหนดเหมือนปี 2555 CUP ทำแผนเสนอ สสจ.
ข้อเสนองบ PPA จัดสรรลงจังหวัดและหน่วยบริการ ปี 2556
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน บริการแพทย์แผนไทย และบริการปฐมภูมิ สาขาจังหวัด ปีงบประมาณ 2556
แนวทางบูรณาการค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน บริการแพทย์แผนไทย และบริการปฐมภูมิ สาขาจังหวัด ปีงบประมาณ 2556 วัตถุประสงค์ เพื่อให้สปสช.สาขาจังหวัด สามารถบูรณาการงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการทั้ง 4 กองทุนย่อยเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม ให้หน่วยบริการประจำและเครือข่ายบริการปฐมภูมิให้มีขีดความสามารถจัดบริการสาธารณสุขได้บรรลุเป้าหมายผลผลิตและผลลัพธ์ทั้งการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน บริการปฐมภูมิ การแพทย์แผนไทย การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ การควบคุมป้องกันและรักษาโรคเรื้อรัง และอื่น ๆ ตามความจำเป็นของพื้นที่ รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนากลไกการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขระดับจังหวัดของสปสช.สาขาจังหวัด • กรอบการใช้จ่ายงบประมาณ • กรอบการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อบูรณาการค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการครอบคลุม • ทั้ง 4 บริการย่อย รวมถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ การควบคุมป้องกันและรักษาโรคเรื้อรัง • และอื่น ๆ ตามความจำเป็นของพื้นที่ มีดังนี้ • เพื่อการกำกับติดตามและประเมินผล และมีข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับประสิทธิผลการบริการในระดับพื้นที่ • พัฒนาระบบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ ด้านศักยภาพบุคลากร ด้านการบริการ ด้านการบริหารจัดการ • ด้านระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านการมีส่วนร่วมขององค์กรเอกชนและภาคประชาชน และการขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน
วงเงินค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขระดับเขตและจังหวัด ปี 2556 (แนวทางจากส่วนกลาง)
งบบริการ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (p.129-130) (25.72 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) หักเงินเดือน กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) Quality Performance (25.00 บ./คน) Capitation (99.96 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) CUP/สถานพยาบาล กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
กรอบการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ ปี 2556 งบจ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ 1792,465,000 บาท (37 บ./ปชก.) ตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 1,453,350,000บาท (30 บ./ปชก. ) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ 339,115,000 บาท (7 บ./ปชก.) • เป็นเกณฑ์เชิงโครงสร้าง + Output/Outcome โดย • บริหารจัดการเป็น global budget ระดับเขต ตามจำนวนปชก. : ผลงานปี2555 ที่สัดส่วน 50 : 50 • น้ำหนักเกณฑ์ เน้น output และ outcome(PC) เพิ่มขึ้น • กำหนด minimum requirements • เกณฑ์กลางระดับประเทศ + เกณฑ์ระดับพื้นที่ • มีเงื่อนไขให้ CUP ต้องสนับสนุน PCU • วัดผลงานระดับ CUP / PCU • การจ่ายตามค่าคะแนนของผลการประเมิน ภายใต้ global budget ระดับเขต พัฒนาศักยภาพการจัดบริการปฐมภูมิ 271,292,000บาท(80%=5.6บ) สนับสนุนการผลิตพัฒนาและกระจายบุคลากร 67,823,000 บาท(20%=1.4บ)
การจัดสรรค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี 2556 บริการแพทย์แผนไทย 7.20 บ./ปชก. สิทธิ UC 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 0.35 บ./ปชก.(ไม่เกิน5%) 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม 6.85 บ/ปชก. (ไม่น้อยกว่า 95%) จัดสรรงบเป็น Global เขต ตามจำนวน ปชก. และผลงานเดิม ในสัดส่วน 70:30 จัดสรรงบเป็น Global เขต ตามจำนวน ปชก.
* ส่วนกลาง กำหนดไม่น้อยกว่า 50%
ข้อเสนองบสนับสนุน PP จัดสรรลงจังหวัด ไม่น้อยกว่า 80% ทางเลือกที่เสนออปสข. 5 พย 55
ข้อเสนองบสนับสนุน PP จัดสรรลงจังหวัด ไม่น้อยกว่า 80% ทางเลือกเปรียบเทียบที่ อปสข.เสนอ.ใหม่ เมื่อ 5 พย.2555
จัดงบสนับสนุนยุทธศาสตร์เขตสุขภาพพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลางตอนบน (งบสนับสนุน PP+PC+DENT+TTM = 32,677,119บาท)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนและอภิบาลระบบสุขภาพ 8 จังหวัด ภาคกลางตอนบนนำพาประชาชนไปสู่สุขภาวะที่ดี โครงการที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพของเขตสุขภาพพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลางตอนบน (400,000 บาท) 1) ประชุมกำหนดกรอบฐานข้อมูลที่จำเป็นเพื่อการบริหารจัดการระดับเขต - ข้อมูลทั่วไป - ข้อมูลสถานะสุขภาพ -ข้อมูลทรัพยากร(ด้านบริการบุคลากร ครุภัณฑ์ ทางการแพทย์ที่สำคัญ) 2) พัฒนาโปรแกรมในการจัดเก็บข้อมูล(ฐานข้อมูลเพื่อการรวบรวม) 3) พัฒนาศูนย์ข้อมูลระดับเขต(คลังข้อมูล/Web Site เขต)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนและอภิบาลระบบสุขภาพ 8 จังหวัด ภาคกลางตอนบนนำพาประชาชนไปสู่สุขภาวะที่ดี โครงการที่ 2 บริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ (500,000 บาท) 1) ประชุมชี้แจงการบริหารยุทธศาสตร์/การบริหารจัดการการเงินแต่ละกองทุน ระดับพื้นที่ 8 จังหวัด 2) นิเทศ ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานในระดับจังหวัดโดยทีมเขต 2 ครั้ง / ปี 3) ประเมินสภาวะสุขภาพ 8 จังหวัด 3.1 External Audit 4) เวทีสรุปผลงาน 1 ครั้ง/ปี 5) สนับสนุนเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 3 เขตเพื่อกำกับติดตามงาน สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค (จังหวัดละ 30,000 บาท รวม 240,000 บาท)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนและอภิบาลระบบสุขภาพ 8 จังหวัด ภาคกลางตอนบนนำพาประชาชนไปสู่สุขภาวะที่ดี โครงการที่ 3โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการเงิน การคลังด้านสุขภาพ ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง ตอนบน (200,000 บาท) 1) ประชุมเชิงปฏิบัติการ CFO จังหวัด และเขต 3) กำกับติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน และนิเทศงาน ด้านการเงินการคลัง ระดับเขต
ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม โครงการที่ 1 ขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอำเภอ (Distric Health System) (งบประมาณ 3,083,000 บาท) ประชุมคณะทำงานสนับสนุนและพัฒนาระบบ (80,400 บ.) 2) สนับสนุนงบให้พื้นที่นำร่องจัดนวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ โดย ภาคประชาชน (211,500 บ.) 3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนสำหรับเครือข่ายบริการสุขภาพ CUP (212,200 บ.) 4) เวทีสรุปบทเรียนระดับเขต (178,900 บ.) 5) สนับสนุน (Distric Health System) นำร่อง 24 แห่ง ๆ ละ 100,000 บ. (2,400,000 บ.)
เลือกพื้นที่ (ผอ./สสอ.,ชุมชนท้องถิ่น) = 24 พื้นที่ นครนายก = องครักษ์,ปากพลี,บ้านนา อยุธยา = ท่าเรือ,เสนา,อยุธยา ปทุมธานี = หนองเสือ, ลำลูกกา,เมือง,คลองหลวง นนทบุรี = บางบัวทอง,ไทรน้อย,บางใหญ่ สิงห์บุรี = ท่าช้าง,เมือง ลพบุรี = ท่าหลวง,ลำสนธิ,สระโบสถ์ อ่างทอง = โพธิ์ทอง,วิเศษชัยชาญ สระบุรี = แก่งคอย,ดอนพุด,บ้านหมอ,มวกเหล็ก Key man : ผอ.,สสอ.,ผู้บริหารท้องถิ่น,ผอ.รพ.สต. (เช่น ลำสนธิ… โพธิ์ทอง... แก่งคอย Healthy District เป็นเป้าหมาย, DHS เป็น ยุทธศาสตร์)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม โครงการที่ 2 โครงการพัฒนาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพ(งบประมาณ 2,736,500 บาท) อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนตำบล 8 จังหวัด/ สนับสนุนการขยายเครือข่ายศูนย์ประสานงาน หลักประกัน สุขภาพประชาชน (400,000 บ.+327,500=727,500 บ.) จัดเวทีหลอมรวม(สัมมนา)เครือข่ายภาคประชาชน (596,000 บ.) 3)เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายสุขภาพระดับพื้นที่ (สธ/สสส./สช./สปสช./สปร.) (640,000 บ.) 4) เวทีสานพลังเครือข่ายฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ กับการมีส่วนร่วมในระบบหลักประกัน (640,000 บ.) 5) เวทีถอดบทเรียน KM / R2R (133,000 บ.)
ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาศักยภาพบุคลากร ประชาชน และภาคี เครือข่ายให้สู่เขตสุขภาพแห่งการเรียนรู้ โครงการที่ 1สร้างความเข้มแข็งการจัดการความรู้ด้านสุขภาพให้ ภาคีเครือข่าย(งบประมาณ 1,080,000 บาท) ประชุมคณะกรรมการ/อบรมการเขียนรายงานประกอบ ในการจัดการความรู้ (100,000 บ.) สร้างเพื่อนสุขภาวะ (เน้นต่อยอด DHS) (980,000 บ.) - ประชุมเรื่องเล่าสุขภาวะจากภาคี - เงินรางวัลการประกวด - เวทีเคล็ดลับสุขภาพดี (ระดับจังหวัด / เขต) - ตลาดนัดความรู้ด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาศักยภาพบุคลากร ประชาชน และภาคี เครือข่ายให้สู่เขตสุขภาพแห่งการเรียนรู้ โครงการที่ 2ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตองค์ความรู้ด้านสุขภาพ นวัตกรรม งานวิจัย ให้เกิดขึ้นระดับเครือข่าย (งบประมาณ 2,620,000 บาท) อบรมระยะสั้น (MOU กับสถาบันการศึกษา) สนับสนุนทุนวิจัย / รางวัลนักวิจัย R2R / ประชุมวิชาการประจำปี วารสารเขต จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ระดับเขต พัฒนาศูนย์เรียนรู้ระดับจังหวัด 2 ศูนย์
ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาศักยภาพบุคลากร ประชาชน และภาคี เครือข่ายให้สู่เขตสุขภาพแห่งการเรียนรู้ โครงการที่ 3สร้างคลังความรู้ด้านสุขภาพ(งบประมาณ 490,000 บาท) 1) สนับสนุนสร้างชุมชนนักปฏิบัติ/ประชุม/รวบรวมผลงาน (100,000 บ.) 2) เอกสารวิชาการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (100,000 บ.) 3) จ้างผู้ดูแลระบบ /ผู้บริหารข้อมูล (220,000 บ.) 4) รางวัลผลงานดีเด่น / ผู้เข้าใช้ประโยชน์ (20,000 บ.) การสำรวจ ปชส. สาธิต เผยแพร่ วิธีการใช้งาน (50,000บ.) กิจกรรม 3), 4) , 5) นำไปรวมยุทธฯ 1 โครงการ 1)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้สนับสนุนการดำเนินงานเชิงยุทธศาสตร์ โครงการที่ 1โครงการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (งบประมาณ 455,100 บาท) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ความร่วมมือด้านการจัดการเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (สาขาจังหวัดและทีมเลขานุการยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ) (455,100 บ.) (กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบงาน PP,PC,Dent,TTM,NCD,Drug,Data ใน สสจ.และ Data ใน รพศ./รพท. รวมทั้งทีมเลขาฯยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 1พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (งบ 2,077,600 บาท) โรคหัวใจ (440,000 บ.) อุบัติเหตุ (440,000 บ.) 3) ทารกแรกเกิด (400,000 บ.) 4) มะเร็ง (497,600 บ.) 5) Stroke (300,000 บ.)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 1พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (งบ 2,077,600 บาท) โรคหัวใจ (440,000 บ.)เตรียมความพร้อมบุคลากร/พัฒนาศักยภาพและเพิ่มบุคลากร ทีมIntervention แม่ข่ายโรคทรวงอก 1.พัฒนาศักยภาพ รพศ.ในการทำ Intervention 2.พัฒนาแนวทางการให้ยา SK ที่ ER/ แนวทางการทำ Cardiac Rehabilitation /แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย Chronic IHD 3. พัฒนาระบบการ consult cardiologist 4. พัฒนาเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ / เวที่แลกเปลียนเรียนรู้( KM ) 5. การนิเทศ/เยี่ยมประเมิน KM รพศ/รพท. 6. พัฒนาเครือข่ายการประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องโรคให้เข้าถึงภาคประชาชน (แต่ละศูนย์เชี่ยวชาญอาจเพิ่มการเชื่อมต่อให้ลงถึง ในระดับปฐมภูมิ อาจจะเป็น CPG)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 1พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (งบ 2,077,600 บาท) อุบัติเหตุ (440,000 บ.) แม่ข่ายสระบุรี 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ 2. พัฒนา/สร้างเครือข่ายระบบส่งต่อ-ส่งกลับ รพ./รพสต/FR และสร้างเครือข่ายรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุในพื้นที่ 3. จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ 4. พัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ(KM) 5. ประเมินผลงานเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ (แต่ละศูนย์เชี่ยวชาญอาจเพิ่มการเชื่อมต่อให้ลงถึง ในระดับปฐมภูมิ อาจจะเป็น CPG)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 1พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (งบ 2,077,600 บาท) 3) ทารกแรกเกิด (400,000 บ.) แม่ข่ายสระบุรี 1.พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและระดับเขต 2. จัดทำคู่มือการส่งต่อทารกแรกเกิด 3.พัฒนาเครือข่ายการส่งต่อ-รับกลับและสนับสนุนการใช้ทรัพยากรร่วมกันในเครือข่ายทารกแรกเกิด 4. จัดประชุมวิชาการ/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลทารกแรกเกิด 5.พัฒนาข้อมูลทารกแรกเกิด 6. ติดตามประเมิลผล/ข้อมูลปัญหาอุปสรรค ปรับปรุงแก้ไข (แต่ละศูนย์เชี่ยวชาญอาจเพิ่มการเชื่อมต่อให้ลงถึง ในระดับปฐมภูมิ อาจจะเป็น CPG)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 1พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (งบ 2,077,600 บาท) 4) มะเร็ง /palliatiev (497,600 บ.)แม่ข่ายระดับเขตสสจ.ลพบุรี 1.พัฒนา/เสริมศักยภาพ ความรู้เฉพาะด้านของ แพทย์ และพยาบาล เภสัชกร และ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2. ทำ guide line ในการให้ยาเคมีบำบัด(ในcaseที่ active ไม่ใช่ palliative 3. พัฒนาระบบ Refer เป็นออนไลน์ Consultant online(skype) 4. พัฒนาระบบ palliative CUP นำร่อง 5. จัดประชุมวิชาการ/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6. พัฒนาเครือข่ายสร้างอาชีพ ผป.มะเร็ง (แต่ละศูนย์เชี่ยวชาญอาจเพิ่มการเชื่อมต่อให้ลงถึง ในระดับปฐมภูมิ อาจจะเป็น CPG)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 1พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (งบ 2,077,600 บาท) Stroke (300,000 บ.) 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหลักสูตร 2.อบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพแก่บุคลากรผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองใน ร.พ./รพสต. 3. พัฒนาเครือข่ายระบบบริการ แบบ Stroke Fast Tack 4. ทำ Clinical Tracer Stroke Fast Track/CPG ระดับพื้นที่ 5. การประชุมวิชาการเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง 6. การนิเทศ/เยี่ยมประเมิน KM รพศ/รพท./รพช. (แต่ละศูนย์เชี่ยวชาญอาจเพิ่มการเชื่อมต่อให้ลงถึง ในระดับปฐมภูมิ อาจจะเป็น CPG)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 2 สร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพระดับเขต สนับสนุนจังหวัด (งบ 800,000 บาท) Node การพัฒนา ติดตามสนับสนุน โครงการที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเครือข่ายคุณภาพ (งบ 200,000 บาท) โครงการที่ 4 พัฒนาเครือข่ายระบบส่งต่อและส่งกลับ 8 จังหวัด (งบ 1,000,000 บาท) 1) Data Center 2) พัฒนาศักยภาพบุคลากร
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 2 สร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพระดับเขต สนับสนุนจังหวัด (งบ 800,000 บาท) Node การพัฒนา 1.พัฒนาพี่เลี้ยงคุณภาพให้เป็นที่ปรึกษาในพื้นที่ 2.ทีมพี่เลี้ยงในระดับเขตลงเยี่ยมโรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมายโดยมีการกำหนดระยะเวลาชัดเจน 3. จัดให้มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตามสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 4 พัฒนาเครือข่ายระบบส่งต่อและส่งกลับ 8 จังหวัด(งบ 1,000,000 บาท) Data Center ( Refer in – Refer out) พัฒนาศักยภาพบุคลากร 3)สร้างข้อตกลงการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์ร่วมกันในเครือข่าย 4)กำหนดผู้รับผิดชอบ case management และ พัฒนาศักยภาพให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เป็นปัจจุบัน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน โดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 5 พัฒนาเครือข่ายการจัดการภาวะฉุกเฉินและเตือน ภัยด้านสุขภาพระดับจังหวัด/เขต (งบ 700,000 บาท) พัฒนาศูนย์สั่งการ จัดทำคู่มือ เวทีทบทวน / ถอดบทเรียน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบันโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการที่ 6 พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง และ เขตชนบท (งบ 2,800,000 บาท) เวทีแลกเปลี่ยนการดำเนินงานปฐมภูมิเขตเมือง (สัญจร) (งบ 400,000 บาท) 2) ประชุมวิชาการประจำปี (งบ 1,800,000 บาท) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการปฐมภูมิรัฐร่วมเอกชน (งบ 200,000 บาท) ติดตามสนับสนุน เสริมพลังปฐมภูมิ (งบ 400,000 บาท) …….. (เขตชนบท DHS --- ยุทธ2)
Theme ของการจัดประชุมวิชาการ บริการปฐมภูมิ ครั้งที่ ๕ ที่พัทยา ๒๒-๒๓ เม.ย.๕๖ "Quality" is the essence of primary care in Urban area "คุณภาพ" คือ ปัจจัยสำคัญของบริการปฐมภูมิเขตเมือง
ร่าง รูปแบบ/กิจกรรมในงาน • การบรรยายทางวิชาการ/เวทีเสวนา“คุณภาพงานปฐมภูมิกับกลไกการขับเคลื่อนเขตสุขภาพ” • การบรรยายทางวิชาการ “การเตรียมพร้อมเข้าสู่ AEC • การนำเสนอผลงานวิชาการ “R2R” ทั้ง Poster & Presentation • การนำเสนอผลงานเครือข่ายจิตอาสา ร่วมพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ • การนำเสนอผลงาน 4 กองทุนย่อยแบบบูรณาการ ที่สนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ • เวทีเสวนาห้องย่อย...เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง • การประชุม อปสข.ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 22 เมษายน 2556 • ฯลฯ
โครงการที่ 7 พัฒนาศักยภาพบุคลากร (เวชศาสตร์ครอบครัว) (กิจกรรมและงบประมาณนำไปรวมในโครงการ 9” โครงการที่ 8 พัฒนาเครือข่าย อสม. (งบ 200,000 บาท) โครงการที่ 9 สนับสนุนการพัฒนา PCU ให้ได้รับคะแนนคุณภาพ Ontop Payment ที่เพิ่มขึ้น (งบ 5,143,400 + 901,100+1,000,000 บาท) = 7,044,500.- โครงการที่ 10 พัฒนาคุณภาพระบบบริการปฐมภูมิ เครือข่าย ต้นแบบอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายกโอน ผ่าน สสจ.ดำเนินการ (งบ 300,000 บาท) โครงการที่ 11 สนับสนุนเครือข่ายจิตเวช (งบ 300,000 บาท) (เพิ่มใหม่)
โครงการที่ 9สนับสนุนการพัฒนา PCU ให้ได้รับคะแนนคุณภาพ Ontop Payment ที่เพิ่มขึ้น (งบ 5,143,400 + 901,100 บาท+1,000,000) = 7,044,500.- 9.1 พัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิภาพเขต /จังหวัด วงเงิน 3,100,000.- - พัฒนาและสนับสนุนงาน PCA ระดับเขต (นครนายก+สระบุรี) 350,000.- - พัฒนาและสนับสนุนจังหวัดในงาน PCA จังหวัดละ 300,000 บาท วงเงิน 2,400,000.- - ประเมิน Ontop/สรุปภาพรวมระดับเขต 350,000.- (P jack) 9.2 การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย DM/HT ภาพรวม 8 จังหวัด เป็นเงิน 1,550,000.- (มนตรี) - ระบบสารสนเทศ จังหวัดๆละ 100,000.- รวม 950,000.- (ยกเว้น สระบุรี 250,000.จังหวัดนำร่อง) - การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบงาน NCD(จังหวัดละ 50,000) รวม 400,000.- - การติดตาม และประเมินผลงาน NCD ระดับเขต (200,000) 9.3 การพัฒนาระบบสนับสุนนเครือข่ายระดับอำเภอ (ดำเนินการระดับจังหวัด/เขตรวม 1,000,000.-) - งานเภสัชปฐมภูมิ จังหวัดละ 100,000.- รวม 800,000.- (โชติกา) - การให้คำปรึกษาโดยเครือข่ายแพทย์ปฐมภูมิ (ระดับเขต 200,000/เยาวรัตน์) 9.4 ก่ารพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตเมือง (เพิ่มผลลัพธ์งานในภาพรวมเขตเมือง) - นักสุขศึกษา รพศ./รพท. (เขตเมือง) ระดับเขต 300,000.- P jack (ใช้ไปในภารกิจ 9.1-9.4 = 5,950,000 ) 9.6 คงเหลือ 1,094,500.- (การพัฒนาปัญหาหน้างาน เพื่อเพิ่มคะแนนในเกณฑ์ Ontopปี 57 เฉพาะระดับปฐมภูมิ ) (มอบยุทธศาสตร์ที่ 3 ดำเนินการ) (ข้อเสนอจากการประชุมผู้แทน สสจ. ยกร่าง 8-11-55 รอผ่าน คทง.ปฐมภูมิ ระดับเขต) รอผ่าน คทง.ปฐมภูมิ ระดับเขต) โโครงการที่ 9 สนับสนุนการพัฒนา PCU ที่ตกเกณฑ์คุณภาพ (การพัฒนา PCU เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ (งบ 5,143,400 + 901,100 บาท) 9.1 พัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิภาพเขต วงเงิน 350,000.- ( PCA, สุ่มประเมิน Ontop/สรุปภาพรวม) (นครนายก+สระบุรี) 9.2 พัฒนาและสนับสนุนจังหวัดในงาน PCA จังหวัดละ 300,000 บาท 9.3 การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย DM/HT ภาพรวม 8 จังหวัด (มนตรี) - ระบบสารสนเทศ จังหวัดๆละ 100,000.- (ยกเว้น สระบุรี 250,000.จังหวัดนำร่อง) - การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบงาน NCD(จังหวัดละ 50,000) - การติดตาม และประเมินผลงาน NCD ระดับเขต (200,000) 9.4 การพัฒนาระบบสนับสุนนเครือข่ายระดับอำเภอ (ดำเนินการระดับจังหวัด/เขต) - งานเภสัชปฐมภูมิ จังหวัดละ 100,000.- (โชติกา) - การให้คำปรึกษาโดยเครือข่ายแพทย์ปฐมภูมิ (ระดับเขต 200,000/เยาวรัตน์) 9.5 ก่ารพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตเมือง (เพิ่มผลลัพธ์งานในภาพรวมเขตเมือง) - นักสุขศึกษา รพศ./รพท. (เขตเมือง) ระดับเขต 300,000.- P jack (ใช้ไป 5,555,000 ) 9.6 คงเหลือ 1,500,000.- (การพัฒนาปัญหาหน้างาน เพื่อเพิ่มคะแนนในเกณฑ์ Ontopปี 57 เฉพาะระดับปฐมภูมิ ) (ยุทธศาสตร์ที่ 3) (รอผ่าน คทง.ปฐมภูมิ ระดับเขต)
แผนงาน/โครงการ สนับสนุนงาน ทันตสาธารณสุข 2,690,515.-