620 likes | 868 Views
ความร่วมมือระหว่างประเทศและประชาคมอาเซียน. สพ.ญ. ดาริกา กิ่งเนตร , DVM , MPH ผู้อำนวยการสำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค โทรศัพท์ 02 590 3835, 02 590 3832, โทรสาร 02 591 3625, 02 591 3624 อีเมล์ : darika.kingnate@gmail.com , oic.ddc @gmail.com
E N D
ความร่วมมือระหว่างประเทศและประชาคมอาเซียนความร่วมมือระหว่างประเทศและประชาคมอาเซียน สพ.ญ. ดาริกา กิ่งเนตร, DVM, MPH ผู้อำนวยการสำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค โทรศัพท์ 02 590 3835, 02 590 3832, โทรสาร 02 591 3625, 02 591 3624 อีเมล์ : darika.kingnate@gmail.com, oic.ddc@gmail.com เว็บไซต์ : http://oic.ddc.moph.go.th
หัวข้อการบรรยาย • กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ • ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community : AC)
กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ และประชาคมอาเซียน ASEAN Community AC
Health Collaborative Networks Global health APEC ASEAN ACMECS Regional & Trans-regional – APEC, ASEAN,…… Sub-regional - GMS, LMI, ACMECS, …… Bilateral- TUC, JICA, TICA, China, UK HPA, ……… - Neighboring countries :Cambodia, Lao PDR, Myanmar, Malaysia UN Agencies -WHO, UNICEF, FAO, OIE, ….. NGOs - MBDS, KENAN, ………….…… MBDS
Regional and Trans-regional Forums กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาค/ข้ามภูมิภาค
กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ระดับอนุภูมิภาค IMT-GT
กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค
กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค
จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน วันที่ 8 สิงหาคม 2510 รมว.กต. อินโดนีเซีย (นายอาดัม มาลิก) มาเลเซีย (ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน) ฟิลิปปินส์ (นายนาซิโซ รามอส) สิงคโปร์ (นายเอส ราชารัตนัม) ไทย (พันเอก ถนัด คอมันตร์) ลงนาม ใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) ที่มา: กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
อาเซียน(สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)ASEAN :Association of Southeast Asian Nations • ประเทศสมาชิกก่อตั้ง ปีพ.ศ. 2010 • Thailand • Malaysia • Indonesia • Philippines • Singapore • ประเทศสมาชิก • BruneiDarussalam ปีพ.ศ. 2527 • Viet Namปีพ.ศ. 2538 • Lao PDR ปีพ.ศ. 2540 • Myanmar ปีพ.ศ. 2540 • Cambodia ปีพ.ศ. 2542
ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาคความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาค U.S.A. Canada Russia E.U. ASEAN Republic of Korea Australia New Zealand Japan India China
ASEAN(Thailand, Malaysia, Indonesia, Philippines, Singapore, BruneiDarussalam, Viet Nam, Lao PDR, Myanmar, Cambodia) ประชากรประมาณ 600 ล้านคน (ปี 2555) • ASEAN+3 อาเซียนบวก จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ • ประชากรประมาณ 2,120 ล้านคน • เท่ากับ 1 ใน 3 ของประชากรโลก + • ASEAN+6 • อาเซียน บวก จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ • ประชากรประมาณ 3,352 ล้านคน • เกือบเท่ากับ 1 ใน 2 ของประชากรโลก Internet World Statsข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555 Total World Population7,017,846,922 China 1,343,239,923, India 1,205,073,612, Indonesia 248,645,008, Japan 127,368,088, South Korea50,004, 441 Australia22.68 Million New Zealand 4.43 million
ภาพรวมโอกาสประชาคมอาเซียนภาพรวมโอกาสประชาคมอาเซียน โอกาสของประชาคมอาเซียน ที่มา บทวิเคราะห์จากศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ ASEAN 10 countries : 583 Millions of Pop. (9 % of the world's population) GDP 1,275 BillionsUSD (2% of the world’s GDP) ASEAN+3: 2,068 Millions of Pop.(31 % of the world's population) GDP 9,901 BillionsUSD (18% of the world’s GDP) ASEAN+6: 3,284 Millions of Pop. (50 % of the world's population) GDP 12,250 BillionsUSD (22% of the world’s GDP)
ประเด็นท้าทายของอาเซียน การพัฒนา โครงสร้างสถาบัน การแข่งขันของมหาอำนาจ สหรัฐ รัสเซีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติศาสนา ระดับการพัฒนา ประชาคมอาเซียน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้ง ด้านประวัติศาสตร์ การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากร ตลาด การลงทุน ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ภูมิภาค ที่มา : กรมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน(16 ธันวาคม พ.ศ. 2551) คือกรอบความตกลงที่กำหนดเป้าหมาย หลักการ โครงสร้างองค์กร และกลไกที่สำคัญต่างๆ ของอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดำเนินการตามเป้าหมาย ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรวมตัวไปสู่การเป็นประชาคม อาเซียนภายในปี 2558 2. สร้างกลไกที่จะส่งเสริมประเทศในอาเซียน ปฏิบัติตามความ ตกลงต่าง ๆ ของอาเซียน 3. ทำให้อาเซียนเป็นองค์กรที่ใกล้ชิดและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ประชาชนมากขึ้น
เลขาธิการอาเซียน วาระการดำรงตำแหน่ง5ปี ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (ค.ศ. 2008 - 2012)มร. เล ลอง มินห์ (Mr. Le Loung Minh), ค.ศ. 2013 – 2018 สำนักงานเลขาธิการอาเซียน กรุงจาการ์ตา, อินโดนีเซีย
เกร็ดอาเซียน • ภาษาราชการของอาเซียน - ภาษาอังกฤษ(ภาษาสากลของโลก) • ปฏิญญากรุงเทพ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 • กฎบัตรอาเซียน 16 ธันวาคม พ.ศ. 2551 • อาเซียนมีอายุ 45 ปีแล้ว (วันที่ 8 สิงหาคม 2555) • AFTA (ASEAN Free Trade Area)หมายถึงเขตการค้าเสรีอาเซียน
สัญลักษณ์ธงอาเซียน • รวงข้าวสีทอง 10 รวง นำมามัดรวมกัน = ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ • สีบนธงอาเซียน มาจากสีธงชาติสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ สีน้ำเงินหมายถึง สันติภาพและความมั่นคง สีเหลืองหมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สีแดงหมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า (พลวัตร) สีขาวหมายถึง ความบริสุทธิ์
เกร็ดอาเซียน (ต่อ) • คำขวัญของอาเซียน “One Vision, One Identity, One Community” “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม” • เพลงประจำอาเซียน The ASEAN Way โดยคนไทย นายกิตติคุณ สุดประเสริฐ (ทำนองและเรียบเรียง) นายสำเภา ไตรอุดม (ทำนอง) นางพยอม วลัยพัชรา (เนื้อร้อง)
The ASEAN Way Raise our flag high, sky high.Embrace the pride in our heart.ASEAN we are bonded as one.Look'in out to the world.For peace our goal from the very startAnd prosperity to last.We dare to dream, We care to share.Together for ASEAN.We dare to dream, We care to shareFor it's the way of ASEAN.
The ASEAN Way เนื้อร้องภาษาไทยอย่างเป็นทางการ พลิ้วลู่ลม โบกสะบัดใต้หมู่ธงปลิวไสวสัญญาณแห่งสัญญาทางใจ วันที่เรามาพบกันอาเซียนเป็นหนึ่ง ดังที่เราปรารถนาเราพร้อมเดินหน้าไปตรงนั้นหล่อหลอมจิตใจ ให้เป็นหนึ่งเดียวอาเซียนยึดเหนี่ยวสัมพันธ์ให้สังคมนี้ มีแต่แบ่งปันเศรษฐกิจมั่นคงก้าวไกล
Main Land ASEAN และ กลุ่มประเทศ CLMV Cambodia, Lao PDR, Myanmar, Vietnam
ราชอาณาจักรกัมพูชา Kingdom of Cambodia
ราชอาณาจักรกัมพูชา • เมืองหลวง กรุงพนมเปญ • ประชากร 14.45 ล้านคน พื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร • ระบอบการปกครอง ประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข • ภาษาราชการ ภาษาเขมร • ศาสนาพุทธเถรวาท (มหานิกาย 90% และธรรมยุตินิกาย 10%) • สกุลเงิน เรียล • สินค้านำเข้า ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม วัสดุก่อสร้าง เครื่องจักร ยานพาหนะ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องดื่ม ผ้าผืน ผลิตภัณฑ์ยาง • สินค้าส่งออก เสื้อผ้า สิ่งทอ รองเท้า ปลา ไม้ ยางพารา บุหรี่ ข้าว
ดอกไม้ประจำชาติ ดอกลำดวน ดอกสีขาวเหลือง อยู่บนใบเดี่ยว มีกลิ่นหอมเวลาค่ำ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวLAO People’s Democratic Republic
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว • เมืองหลวง นครหลวงเวียงจันทน์ • ประชากร ประมาณ 6 ล้านคน พื้นที่ 236,880 ตารางกิโลเมตร • ภาษาราชการ ภาษาลาว สกุลเงิน กีบ • ศาสนาพุทธ (75%) อื่นๆ (16-17%) • รูปแบบการปกครอง ระบอบสังคมนิยม • สินค้านำเข้า รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องอุปโภคบริโภค • สินค้าส่งออก ไม้ซุง ไม้แปรรูป ผลิตภัณฑ์ไม้ สินแร่ เศษโลหะ ถ่านหิน เสื้อผ้าสำเร็จรูป
ดอกไม้ประจำชาติ ดอกจำปาลาว (ดอกลีลาวดี หรือชื่อเก่า ลั่นทม) หลากหลายสี มีกลิ่นหอม เป็นสัญลักษณ์ของความจริงใจและความสุขในชีวิต
มาเลเซีย • เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์ • ประชากร 28.9 ล้านคน พื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร • ภาษาราชการ มาเลย์ • ศาสนาอิสลาม (60%) พุทธ (19%) คริสต์ (12%) อื่นๆ (9%) • สกุลเงิน ริงกิต • สินค้านำเข้า ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรอุตสาหกรรม สินค้าแปรรูป สินค้าอาหาร • สินค้าส่งออก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติเหลว ปิโตรเลียม เฟอร์นิเจอร์ ยาง น้ำมันปาล์ม
ดอกไม้ประจำชาติ ดอกพู่ระหง กลีบดอกเป็นสัญลักษณ์ของ 5 หลักการแห่งความเป็นชาติของมาเลเซีย เพื่อความเป็นปึกแผ่นและความอดทน
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์Republic of The Union of Myanmar
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ • เมืองหลวง นครเนปิดอว์ • ประชากร 57.5 ล้านคน พื้นที่ 657,740 ตารางกิโลเมตร • สกุลเงิน จั๊ด • ศาสนาพุทธ (90%) คริสต์ (5%) อิสลาม (3.8%) ศาสนาฮินดู (0.05%) • สินค้านำเข้า ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรอุตสาหกรรม สินค้าแปรรูป สินค้าอาหาร • สินค้าส่งออก ก๊าซธรรมชาติ สิ่งทอ ไม้ซุง
ดอกไม้ประจำชาติ ดอกประดู่ ดอกสีเหลืองทอง ส่งกลิ่นหอมหลังฝนแรกในเดือนเมษายน
ราชอาณาจักรไทย Kingdom of Thailand
ราชอาณาจักรไทย • เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร • ประชากร ประมาณ 67 ล้านคน พื้นที่ 513,115.02 ตารางกิโลเมตร • ภาษาราชการ ภาษาไทย • ศาสนาพุทธ (94.6%) อิสลาม (4.6%) คริสต์ (0.7%) อื่นๆ (0.1 %) • ระบบการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข • สกุลเงิน บาท • สินค้านำเข้า น้ำมันดิบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและ • ส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เครื่องเพชรพลอย • อัญญมณี เงินแท่งและทองคำ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานพาหนะ • สินค้าส่งออก เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบรถยนต์ อุปกรณ์และ • ส่วนประกอบแผงวงจรไฟฟ้า ข้าว ยางพารา เม็ดพลาสติก อัญญมณีและเครื่องประดับ • น้ำมันสำเร็จรูป เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ • และส่วนประกอบเคมีภัณฑ์
ดอกไม้ประจำชาติ ดอกราชพฤกษ์ หรือ ดอกคูน ช่อดอกสีเหลืองสวยงาม คือสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา ความรุ่งโรจน์ และความสามัคคีปรองดอง
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามSocialist Republic of Vietnam
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม • เมืองหลวง กรุงฮานอย • ประชากร 89.57 ล้านคน พื้นที่ 331,690 ตารางกิโลเมตร • ภาษาราชการ เวียดนาม • ศาสนา พุทธ (มหายาน) • สกุลเงิน ด่อง • สินค้านำเข้า วัตถุดิบ วัสดุสิ่งทอ เครื่องหนัง เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม • สินค้าส่งออก น้ำมันดิบ เสื้อผ้าและสิ่งทอ อาหารทะเล ยางพารา ข้าว กาแฟ รองเท้า
ดอกไม้ประจำชาติ ดอกบัว ชาวเวียดนามถือว่าเป็น 1 ใน 4 ของดอกไม้และพืชที่สง่างาม
บรูไนดารุสซาลามBrunei Darussalam
บรูไนดารุสซาลาม • เมืองหลวง บันดาร์ เสรี เบกาวัน • ประชากร 395,027 คน พื้นที่ 5,765 ตร.กม. (บนเกาะบอร์เนียว) • ภาษาราชการ มาเลย์ (Malay หรือ Bahasa Melayu) • ศาสนาอิสลาม (67%) พุทธ (13%) คริสต์ (10%) และฮินดู (10%) • หน่วยเงินตรา บรูไนดอลลาร์ •สินค้านำเข้า เครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกษตร อาทิ ข้าว ผลไม้ • สินค้าส่งออก น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ
ดอกไม้ประจำชาติ ดอก Simpor (DilleniaSuffruticosa) กลีบดอกสีเหลือง ขนาดใหญ่ คล้ายร่ม
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย Republic of Indonesia
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย • เมืองหลวง กรุงจาการ์ตา • ประชากร 245.5 ล้านคน • พื้นที่ 5,070, 606 ตารางกิโลเมตร • ภาษาราชการ บาร์ฮาซา อินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) • ศาสนาอิสลาม (88%) คริสต์ (8%) ฮินดู (2%) พุทธ (1%) อื่นๆ (1%) • สกุลเงิน รูเปียห์ • สินค้านำเข้า น้ำมัน เหล็ก สิ่งทอ เคมีภัณฑ์ • สินค้าส่งออก ก๊าซธรรมชาติ แร่ธาตุ ถ่านหิน ผลิตภัณฑ์จากไม้ สิ่งทอ
ดอกไม้ประจำชาติ ดอกกล้วยไม้ราตรี หรือ Moon Orchid กล้วยไม้ในสายพันธุ์ PhalaenopsisAmabilis
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์Republic of The Philippines
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ • เมืองหลวง กรุงมะนิลา • ประชากร 98 ล้านคน พื้นที่ 298,170 ตารางกิโลเมตร • ภาษาราชการ ตากาล็อค และอังกฤษ • ศาสนา โรมันคาทอลิก (83%) โปรเตสแตนท์ (9%) อิสลาม (5%) อื่นๆ (3%) • สกุลเงิน เปโซ • สินค้านำเข้า ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ น้ำมันเชื้อเพลิง เครื่องจักรกล เหล็ก ยานพาหนะ พลาสติก • สินค้าส่งออก ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกล เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยานพาหนะ