320 likes | 688 Views
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน. รศ.ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จิตวิทยาการบริหารทีมงาน. การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน การรู้จักตน การรู้จักผู้อื่น การสื่อสาร การบริหารความขัดแย้ง. 1. การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน. ความคิด อารมณ์
E N D
จิตวิทยาการบริหารทีมงานจิตวิทยาการบริหารทีมงาน รศ.ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จิตวิทยาการบริหารทีมงานจิตวิทยาการบริหารทีมงาน • การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน • การรู้จักตน • การรู้จักผู้อื่น • การสื่อสาร • การบริหารความขัดแย้ง
1. การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน
ความคิด อารมณ์ ความคิด สรีระ ความคิด พฤติกรรม
อารมณ์ สรีระ อารมณ์ พฤติกรรม สรีระ พฤติกรรม
รูปแบบความสัมพันธ์ของการคิด พฤติกรรม อารมณ์ และสรีระ สิ่งเร้า การคิด พฤติกรรม อารมณ์ สรีระ
ทฤษฎีพฤติกรรมปัญญานิยมทฤษฎีพฤติกรรมปัญญานิยม สิ่งเร้า กระบวนการทางปัญญา พฤติกรรม+อารมณ์ ผลกรรม A B1 B2 C
A = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำ Sp = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่เชื่อมโยงกับ C- Sd= สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่เชื่อมโยงกับ C+ S = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่ ไม่เชื่อมโยงกับ C ใดๆ
B1 = กระบวนการทางปัญญา ทุกๆสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการคิด (ตัวอย่างเช่น การแปลความ ความคาดหวัง การคิด การให้คุณค่า ทัศนคติ ความเชื่อ การพูดกับตนเองในใจ ความคิดอัตโนมัติทางลบ การให้ความหมายต่อสิ่งใดๆก็ตาม) ฯลฯ
B2 = พฤติกรรมและอารมณ์ ที่แสดงออกมาและสังเกตได้วัดได้ตรงกัน
C = ผลการกระทำ C + = เกิดตามหลัง B แล้วทำให้ B เกิดขึ้นสม่ำเสมอหรือเกิดเพิ่มขึ้น C - = เกิดตามหลัง B แล้วทำให้ B ลดลงหรือหยุดไป C = การที่ B เกิดรุนแรงขึ้นเพราะ B ดังกล่าวเคยได้ C+ แต่ถูกตัด C+ดังกล่าวไป
รูปแบบของการคิด(Cognitive Model) การเลี้ยงดูในวัยเด็กความเชื่อพื้นฐานที่อยู่ในระดับลึก ประสบการณ์ (Core belief) ที่ผ่านมา ความเชื่อที่อยู่ในระดับกลาง (Intermediate belief) สิ่งเร้า ความคิดอัตโนมัติ ผล (Automatic thoughts) 1. อารมณ์ 2. พฤติกรรม 3. สรีระ
ความเชื่อพื้นฐานในระดับลึก(Core belief) • เป็นความเชื่อที่พัฒนามาตั้งแต่เด็กๆ เป็นความเชื่อเกี่ยวกับตนเองและผู้อื่น รวมถึงความเชื่อเกี่ยวโลกและชีวิต • เป็นความเชื่อเบื้องต้นของคน มักอยู่ลึกและคนส่วนใหญ่จะไม่ค่อยรับรู้ • มักจะแผ่ขยายไปยังเรื่องหลายๆเรื่อง • มักจะเป็นตัวยิงความคิดอัตโนมัติที่ซ้ำๆ ออกมาบ่อยๆ เมื่อมีเรื่องมากระตุ้น
ความเชื่อที่อยู่ในระดับกลาง(Intermediate belief) • มีผลมาจากความเชื่อพื้นฐานที่อยู่ในระดับลึก ตัวอย่างเช่น ทัศนคติ(attitude) กฎส่วนตัว(rule) ข้อยอมรับเบื้องต้น(assumption)
ความคิดอัตโนมัติ • หมายถึงกระแสของความคิด ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วต่อสถานการณ์ และส่งผลต่ออารมณ์ พฤติกรรม และสรีร ของบุคคล ความคิดอัตโนมัติเป็นความคิดปกติที่เกิดขึ้นในทุกคน ทั้งในคนที่ปกติและผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต มักเป็นความคิดที่บุคคลมักจะไม่รู้ตัว ไม่ได้ตระหนักในการคิดอัตโนมัติของตนเอง
ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ • คิดเพียงด้านใดด้านหนึ่ง (All or none thinking) • คิดมากกว่าความเป็นจริงแบบเหมารวม(Overgeneralization) • คิดคาดเดาไปล่วงหน้า (Catastrophizing /fortune telling)
ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ • การแปลความหมายโดยปราศจากเหตุผล (Emotional reasoning) • การตีตรา (Labeling) • การขยายต่อเติมหรือตัดทอนเรื่องราว(Magnification/minimization) • การคิดเดาใจผู้อื่น (Mind reading)
ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ • การคิดต่อเหตุการณ์ต่างๆว่า ควร หรือ ต้อง (Should and must statement) • การเลือกที่จะเชื่อหรือคิดในสิ่งที่ตนเองคิดหรือมีความเชื่อ(Mental filter) • การคิดเกี่ยวกับตนเองจากเหตุการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับตนเอง(Personalization)
2. การรู้จักตน การรู้จักผู้อื่น
สติ (Mindfulness)
วิเคราะห์ลักษณะการสื่อสารแบบ TA (Transactional Analysis) 1.1 ลักษณะแบบผู้ปกครอง (Parent Ego State - P)คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะคล้ายพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง 1.2 ลักษณะแบบผู้ใหญ่ (Adult Ego State - A) คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะเป็นผู้ใหญ่ หรือผู้มีวุฒิภาวะสมบูรณ์ 1.3 ลักษณะแบบเด็ก (Child Ego State - C) คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะของความเป็นเด็ก
ตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคลตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคล คนที่ 1 คนที่ 2 P P A A C C
ตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคลตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคล คนที่ 1 คนที่ 2 P P A A C C
หัวใจของการบริหารทีมงานหัวใจของการบริหารทีมงาน • เป้าหมายของทีมเป็นหลัก • ให้เวลาเพื่อเดินไปด้วยกัน • พัฒนาความรู้และทักษะที่ยังขาด • ความสำเร็จและความล้มเหลวเป็นของทีม • การรับผิดและรับชอบ • การเข้าใจโลกและชีวิตที่แท้