740 likes | 990 Views
สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์. สีกุน นุชชา. บทที่ 4 มลพิษจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์.
E N D
สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ สีกุน นุชชา
บทที่ 4 มลพิษจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ คำว่า "มลพิษ" (Pollution) คือ ความเป็นอันตราย ความเป็นพิษ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 มีความหมายว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่นๆ รวมทั้งกากตะกอนและสิ่งตกค้างที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมความถึงรังสี ความร้อน เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุรำคาญต่างๆ
ประเภทของมลพิษจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ประเภทของมลพิษจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ำ มลพิษทางกลิ่น มลพิษทางเสียง มลพิษจากขยะมูลฝอย
ปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อมปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อม 1. ปัญหาน้ำเสีย แหล่งน้ำสำคัญที่คุณภาพของน้ำอยู่ในสภาพน่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง แม่น้ำมีความสำคัญอย่างมากต่อประชาชนไทย ทางด้านอุปโภค บริโภค ด้านชลประทาน ด้านการอุตสาหกรรม สำหรับด้านอุปโภค บริโภคนั้น คุณภาพน้ำที่ลดลงมีปัญหาอันเนื่องมาจากน้ำทิ้งซึ่งมาจากอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ สรุปสาเหตุใหญ่ ๆ ที่ทำให้คุณภาพของแหล่งน้ำต่าง ๆ เสื่อมโทรมลงไป เนื่องจาก 1. น้ำทิ้งจากอุตสาหกรรม 2. น้ำทิ้งจากอาคารบ้านเรือน 3. ขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูล
ปัญหาน้ำเสีย http://teenet.cmu.ac.th/btc/farmpollution03.php
ปัญหาน้ำเสีย http://www.mcot.net/site/content?id=50d994b8150ba09302000082
ปัญหาน้ำเสีย http://news.phuketindex.com/features/phuket-1968-208681.html
ปัญหาน้ำเสีย ในจีน http://news.mthai.com/world-news/222178.html
ปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อมปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อม 2. ปัญหาอากาศเป็นพิษ จากการสำรวจข้อมูลหาปริมาณก๊าชคาร์บอนโมน็อคไชด์ในเขตกรุงเทพฯ ได้พบว่า มีปริมาณสูงมากในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น ซึ่งมีประมาณที่สูงจนพอที่จะเชื่อได้ว่าอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน นอกจากก๊าชคาร์บอนโมน็อคไชด์แล้ว ยังพบสารอื่น ๆ ที่น่าจะระมัดระวังไว้ เช่น สารประกอบตะกั่ว สารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน และอีกอย่างที่สำคัญเช่นกันก็คือ ควันดำ ก๊าซและสารต่าง ๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่มาจากไอเสียรถยนต์และบางอย่าง เช่น ขยะหรือของแข็งบางส่วนที่ทิ้งมาจากฟาร์ม หรือชุมชนเมืองเมื่อนำไปเผาก็ก่อมลพิษทางอากาศเพิ่มขึ้นเช่นกัน
ปัญหาอากาศเป็นพิษ http://dpc9.ddc.moph.go.th/crd/news/2555/03_06_sulfur.html
ปัญหาอากาศเป็นพิษ http://www.promma.ac.th/main/chemistry/boonrawd_site/air_pollution.htm
ปัญหาอากาศเป็นพิษ http://www.promma.ac.th/main/chemistry/boonrawd_site/air_pollution.htm
ปัญหาอากาศเป็นพิษ http://www.clipmass.com/story/57646
ปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อมปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อม 3. ปัญหาดินสกปรก ดินเป็นพิษอันเนื่องมาจากสารเคมี เชื่อว่ามีอยู่มากเช่นกัน จากการสำรวจของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พบว่า ในบริเวณที่มีการใช้ยาฆ่าแมลงมาก จะมีพิษตกค้างอยู่ ตลอดจนติดไปกับพืชที่ใช้ยานั้น ๆ ส่วนในเมืองใหญ่ยังมีปัญหาเรื่องผงซักฟอกที่ยังตกค้างอยู่ในดินอีกด้วย ส่วนที่ทำให้ดินสกปรกและเป็นพิษมิใช่ว่าจะอยู่บนพื้นดินเท่านั้น หากมีน้ำชะล้าง เช่น น้ำฝน ก็จะชะล้างน้ำจากผิวดินลงไปยังแหล่งน้ำอื่น ๆ หรือไปยังชั้นน้ำใต้ผิวดินอีกด้วย ทำให้เกิดปัญหาน้ำเสียขยายวงกว้างขึ้น
ปัญหาดินสกปรก http://www.greenworld.or.th/greenworld/local/1313
ปัญหาดินสกปรก พบสารไซยาไนด์และสารปรอทที่เกิดจากการแต่งแร่ http://www.gsei.or.th/article62.php
ปัญหาดินสกปรก เกิดจากการทำแร่ทองคำ จ.พิจิตร http://www.oknation.net/blog/print.php?id=758004
ปัญหาดินสกปรก เกิดจากการทำแร่ทองคำอัคราไมนิ่ง จ.พิจิตร http://www.oknation.net/blog/print.php?id=758004
ปัญหาดินสกปรก เกิดจากการทำแร่ทองคำ จ.เลย http://www.komchadluek.net/detail/20140516/184790.html
2. ปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อม 2.1 ปัญหาน้ำเสีย
ปัญหาน้ำเสีย http://www.thaigoodview.com/node/72249
2. ปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อม 2.2 ปัญหาอากาศเป็นพิษ
ปัญหาอากาศเป็นพิษ http://www.thaigoodview.com/node/72249
2. ปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อม 2.3 ปัญหาดินสกปรก
ปัญหาดินสกปรก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=562271
ปัญหาดินสกปรก http://www.rd1677.com/branch.php?id=95373
ปัญหาดินสกปรก http://sharpenpeal.blogspot.com/2012/01/soil-pollution.html
ปัญหาดินสกปรก http://sharpenpeal.blogspot.com/2012/01/soil-pollution.html
ปัญหาดินสกปรก http://sharpenpeal.blogspot.com/2012/01/soil-pollution.html
มลสารที่ทำให้อากาศเสียมลสารที่ทำให้อากาศเสีย คาร์บอนไดออกไซด์ แอมโมเนีย ไฮโดรเจน คาร์บอนมอน็อกไซด์ มีเทน
หลักการจัดการมลพิษทางอากาศหลักการจัดการมลพิษทางอากาศ การลดปริมาณมลสารจากแหล่งกำเนิด การควบคุมปริมาณมลสารจากแหล่งกำเนิด การลดการแพร่กระจายของมลพิษ
น้ำเสียทางกายภาพ (Physical Waste Water) สังเกตได้จาก อุณหภูมิ สีและความขุ่น กลิ่น การนำไฟฟ้า ของแข็งในน้ำ ลักษณะทางกายภาพอื่นๆ เช่น ความหนาแน่นและความหนืด
น้ำเสียทางเคมี สังเกตหรือตรวจสอบได้จาก ความกระด้าง ความเป็นกรดด่างของน้ำ ปริมาณออกซิเจนละลาย ความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (Biochemical Oxygen Demand : BOD) ความต้องการออกซิเจนทางเคมี (Chemical Oxygen Demand : COD) โลหะหนัก
น้ำเสียทางชีววิทยา สภาพน้ำเสียทางชีววิทยา หมายถึง น้ำมีสิ่งที่มีชีวิตเป็นพิษเป็นภัยต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช การตรวจวัดความสกปรกของน้ำทางด้านชีววิทยา จะตรวจโดยการหาปริมาณของโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่อยู่ในลำไส้ของสัตว์เลือดอุ่น สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี มีอยู่ในอุจจาระประมาณ 95% และตามแหล่งน้ำธรรมชาติ 5%
ผลกระทบจากมลพิษทางน้ำผลกระทบจากมลพิษทางน้ำ การสาธารณสุข การประมง การผลิตน้ำเพื่ออุปโภคและบริโภค การเกษตร ความสวยงามและการพักผ่อนหย่อนใจฯลฯ
ผลกระทบจากมลพิษทางน้ำ : การสาธารณสุข
ผลกระทบจากมลพิษทางน้ำ : การประมง
ผลกระทบจากมลพิษทางน้ำ :การผลิตน้ำเพื่ออุปโภคและบริโภค
ผลกระทบจากมลพิษทางน้ำ :ความสวยงามและการพักผ่อนหย่อนใจฯลฯ
การจัดการปัญหามลพิษทางน้ำการจัดการปัญหามลพิษทางน้ำ - ส่งเสริมการเกษตรแบบธรรมชาติเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยเคมีและยาฆ่าแมลงหรือใช้โดยไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อแหล่งน้ำ - แนะนำให้เกษตรกรใช้ระบบการเกษตรแบบผสมผสาน ซึ่งจะมีทั้งการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพื่อให้เกิดของเสียน้อย โดยการนำมูลสัตว์ไปเป็นปุ๋ย - กำหนดให้เกษตรกรสร้างถังหรือบ่อเก็บน้ำโสโครก - ปลูกพืชคลุมดินเพื่อช่วยลดตะกอนและสารพิษที่จะไหลลงสู่แหล่งน้ำ - การทำระบบบำบัดน้ำเสียในฟาร์ม
การจัดการปัญหามลพิษทางน้ำ: ส่งเสริมการเกษตรแบบธรรมชาติ