1 / 24

การพัฒนารูปแบบเว็บการเรียนโดยใช้ทัศนศึกษา เสมือน

การพัฒนารูปแบบเว็บการเรียนโดยใช้ทัศนศึกษา เสมือน ด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบสืบ สอบและ การคิดอย่างมี วิจารณญาณ เพื่อ เสริมสร้างผลการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์.

spence
Download Presentation

การพัฒนารูปแบบเว็บการเรียนโดยใช้ทัศนศึกษา เสมือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนารูปแบบเว็บการเรียนโดยใช้ทัศนศึกษาเสมือนการพัฒนารูปแบบเว็บการเรียนโดยใช้ทัศนศึกษาเสมือน ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อเสริมสร้างผลการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ DEVELOPMENT OF WEBSITE FOR A VIRTUAL FIELD TRIPS Learning model WITH INQUIRY LEARNING AND CRITICAL THINKING PROCESSES TO ENHANCE SCIENCE LEARNING OUTCOMES โดย : แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี : ผศ.ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ : รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์

  2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • รายงานการติดตามและประเมินความก้าวหน้าการปฏิรูปการศึกษาด้านการเรียนรู้ (สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2549) พบว่าการจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางและพัฒนากิจกรรมสู่การพัฒนาทักษะทางด้านการคิดยังอยู่ในระดับต่ำประกอบกับผลการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของประเทศไทยคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งประเทศยังอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (PISSA,2006)

  3. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • วิสัยทัศน์เกี่ยวกับการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ ได้กำหนดมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับผู้เรียนไว้ 3 ประการคือ 1) การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับทั้ง ความรู้   กระบวนการและเจตคติ2) การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต3) การเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เป็นการเรียนรู้เพื่อความเข้าใจ ซาบซึ้งและเห็นความสำคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • กระบวนการเรียนวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องใช้เหตุและผล กระบวนการสอนแบบสืบสอบและกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงเป็นกระบวนการที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างเกิดผลได้ Nguyen(2009)

  4. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) ได้มีการนำแนวคิดเรื่อง“ห้องเรียนคุณภาพ” (The Complete Classroom/Quality Classroom) ซึ่ง เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นให้สถานศึกษา บริหารจัดการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพในระดับปฏิบัติ โดยตัวชี้วัดอย่างหนึ่งคือการใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน

  5. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • ข้อจำกัดในการจัดกิจกรรมบูรณาการนอกห้องเรียนสู่ห้องเรียน ICT • ระยะทาง • เวลา • ความปลอดภัย • การเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ • งบประมาณ • ทรัพยากรที่หายาก

  6. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา “การจัดกิจกรรมทัศนศึกษาเสมือนจึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนที่จะช่วยแก้อุปสรรคดังกล่าว รวมทั้งเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการบูรณาการในการเรียนการสอนอีกด้วย ทำให้ครูและนักเรียนสามารถใช้รูปแบบการทัศนศึกษาเสมือนจริงได้ทุกที่และทุกเวลาช่วยลดข้อจำกัดต่างๆ ในการจัดการศึกษานอกสถานที่ รวมถึงยังช่วยเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้กับนักเรียนที่ไม่มีโอกาสได้ไปทัศนศึกษาในสถานที่นั้นจริงๆ” Cassadyand Mullen (2006) และ Millan (1995)

  7. วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนด้วยทัศนศึกษาเสมือนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อเสริมสร้างผลการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 1 • เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนด้วยทัศนศึกษาเสมือนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2 2

  8. ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2. ตัวแปรในการวิจัย2.1 ตัวแปรจัดกระทำ ได้แก่รูปแบบการเรียนด้วยทัศนศึกษาเสมือน ร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบและการคิดอย่างมี วิจารณญาณ2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ 2.2.2 ความสามารถในการสืบค้น 2.2.3 ความสามารถในการสื่อความหมาย 2.2.4 ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

  9. การเรียนด้วยทัศนศึกษาเสมือนการเรียนด้วยทัศนศึกษาเสมือน Millan (1995), Manael (2001) ,กรกช รัตนโชตินันท์ (2547), Hovell (2003), Tuthill&Klemm (2002) 1. การวางแผนร่วมกันเรื่องวัตถุประสงค์ 2. การกำหนดสถานที่ทัศนศึกษาเสมือน 3. การกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. การสรุปผลการเรียนรู้ 5. การประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนคือ 1) การเรียนรู้ก่อนทัศนศึกษาเสมือน 2) การเรียนรู้ระหว่างทัศนศึกษาเสมือน 3) การเรียนรู้หลังทัศนศึกษาเสมือน กระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบ BSCS (2006), NSES(2006),สสวท. (2547), D.Llewellyn (2002) สรุปขั้นตอนที่สอดคล้องกัน 5 ขั้นคือ 1) การกระตุ้นความสนใจ2) การสำรวจ 3) การอธิบาย4) การขยายความรู้5) การประเมินผล โดยใช้ประเภทการสืบสอบแบบมีโครงสร้าง (Structure Inquiry) • กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ • Norris and Ennis (1998),Nitko (2004),Facione (2004),Garrison, Anderson & Archer (2001),ตวงรัตน์ ศรีวงษ์คล(2550) • 1. การกระตุ้น • 2. การระบุปัญหา • 3. การประเมิน • 4. การวินิจฉัย • 5. การลงข้อสรุป กรอบแนวคิดการวิจัย กิจกรรมการเรียน บนเว็บ รูปแบบการเรียนโดยใช้ทัศนศึกษาเสมือนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบสืบสอบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กิจกรรมการเรียน ในห้องเรียน ผลการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551, การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2546) 1) มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ 2) ความสามารถในการสืบค้น 3) ความสามารถในการสื่อความหมาย 4) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

  10. Framework of the Study วิธีดำเนินการวิจัย second trial implementation of the optimized model process optimization with additional expert review of learning model refinement of the model and trial with sampling group Expert review of learning model (component and model) Focus group Literature review

  11. ผลการวิจัย องค์ประกอบของเครื่องมือแบ่งตามลักษณะการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบสอบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณได้ 5 ด้าน 1)เครื่องมือในการสร้างความสนใจ 2)เครื่องมือในการสำรวจและสืบค้น 3)เครื่องมือในการอธิบาย 4)เครื่องมือในการขยายความรู้ 5)เครื่องมือในการประเมินผล

  12. ผลการวิจัย ตารางที่ 1ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ประกอบของเครื่องมือจำแนกตามเครื่องมือในการสร้างความสนใจ

  13. ผลการวิจัย ตารางที่ 2ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ประกอบของเครื่องมือจำแนกตามเครื่องมือในการสำรวจและสืบค้น

  14. ผลการวิจัย ตารางที่ 3ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ประกอบของเครื่องมือจำแนกตามเครื่องมือในการอธิบาย

  15. ผลการวิจัย ตารางที่ 4ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ประกอบของเครื่องมือจำแนกตามเครื่องมือในการขยายความรู้

  16. ผลการวิจัย ตารางที่ 5ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์ประกอบของเครื่องมือจำแนกตามเครื่องมือ ในการประเมินผล

  17. เว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัยเว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัย http://www.vtrip.in.th

  18. เว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัยเว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัย ตัวอย่างหน้าเว็บแสดงเครื่องมือสำหรับการสร้างความสนใจ

  19. เว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัยเว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัย ตัวอย่างหน้าเว็บแสดงเครื่องมือในการสำรวจและสืบค้น

  20. เว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัยเว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัย ตัวอย่างหน้าเว็บแสดงเครื่องมือในการอธิบาย

  21. เว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัยเว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัย ตัวอย่างหน้าเว็บแสดงเครื่องมือในการขยายความรู้

  22. เว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัยเว็บไซต์ทัศนศึกษาเสมือนเพื่อการวิจัย ตัวอย่างหน้าเว็บแสดงเครื่องมือช่วยในการประเมินผล

  23. ข้อซักถาม ???

  24. ขอบคุณค่ะ

More Related