1.31k likes | 3.06k Views
การนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยา. อำนวย ทิพศรีราช กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่. ขอขอบคุณ แหล่งข้อมูลและเจ้าของสไลด์ทุกท่าน ขออภัยที่ไม่ได้เอ่ยนาม. วัตถุประสงค์ของการนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยา. จัดข้อมูลต่างๆให้อยู่ในรูปแบบที่เห็นและ เข้าใจง่าย.
E N D
การนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยาการนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยา อำนวย ทิพศรีราช กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่ ขอขอบคุณ แหล่งข้อมูลและเจ้าของสไลด์ทุกท่าน ขออภัยที่ไม่ได้เอ่ยนาม
วัตถุประสงค์ของการนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยา • จัดข้อมูลต่างๆให้อยู่ในรูปแบบที่เห็นและ • เข้าใจง่าย • ช่วยให้ผู้อ่านได้ทราบผลอย่างถูกต้องตาม • วัตถุประสงค์ • เตรียมพร้อมสำหรับการวิเคราะห์และ • แปลความหมายต่อไป
ความหมายของระบาดวิทยาความหมายของระบาดวิทยา • ระบาดวิทยา เป็นการศึกษาเรื่องโรค หรือสถานะสุขภาพ หรือเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กับสุขภาพอนามัยในด้าน การเกิดโรค การกระจาย สิ่งกำหนด (occurrence) (distribution) (determinants) ทราบได้ด้วย - นิยาม - ขนาด - ความรุนแรง ตามตัวแปร - บุคคล - เวลา - สถานที่ พบในองค์ประกอบ 3 - Agent - Host - Environment และการใช้ประโยชน์จากความรู้นั้น (applications)
วิธีการนำเสนอข้อมูลทางสถิติวิธีการนำเสนอข้อมูลทางสถิติ • 1. การนำเสนอโดยปราศจากแบบแผน • การนำเสนอเป็นบทความ • การนำเสนอเป็นบทความกึ่งตาราง • 2. การนำเสนอโดยมีแบบแผน • การนำเสนอเป็นตาราง • การนำเสนอด้วยกราฟ • การนำเสนอด้วยแผนภูมิ
ตัวอย่าง “จากรายงานผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรงรายสัปดาห์ (E1) ที่ศูนย์ระบาดวิทยาได้รับจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้ ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค - 31 ธ.ค. 2544 พบว่า มีผู้ป่วยทั้งหมด 232 ราย เป็น ผู้ป่วยชาวไทยร้อยละ 94.40 (219 ราย)และเป็นผู้ป่วยต่างชาติร้อยละ 5.60 (13 ราย) แยกเป็นPassive case 160ราย Active case 72 ราย โดยผู้ป่วยรายแรกเป็นผู้ป่วยในจังหวัดชุมพร เริ่มป่วยเมื่อ 2 มกราคม 2544 ผู้ป่วย รายสุดท้ายเป็นผู้ป่วยในจังหวัดชุมพรเริ่มป่วยเมื่อ 22 ธันวาคม 2544”
ตัวอย่าง โรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของภาคใต้ 10 อันดับแรกของโรคในข่ายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของภาคใต้ ปี 2544 มีดังนี้
การนำเสนอด้วยตาราง (Tabular presentation) เหมาะสำหรับข้อมูลที่มีรายการเป็นจำนวนมากและซ้ำๆ กัน โดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปสดมภ์และแถว • ชนิดของตาราง • ตารางลักษณะเดียว (One way table) • ตารางสองลักษณะ (Two way table) • ตารางซับซ้อน (Complex table)
ส่วนประกอบของตาราง หมายเลขตาราง(1)………………..ชื่อตาราง(2)……………………….. หมายเหตุคำนำ(6)…………………. ต้นขั้ว(3) หัวเรื่อง(4) หมายเหตุล่าง(7): แหล่งที่มา(8):
ตัวอย่างการนำเสนอด้วยตารางลักษณะเดียวตัวอย่างการนำเสนอด้วยตารางลักษณะเดียว ตารางที่ 32 จำนวนและร้อยละของผู้บาดเจ็บทุกสาเหตุ จำแนกตามสถานภาพ เมื่อออกจาก E.R. โรงพยาบาล................ปีพ.ศ.............................
ตัวอย่างการนำเสนอด้วยตารางสองลักษณะตัวอย่างการนำเสนอด้วยตารางสองลักษณะ ตารางที่ 21 จำนวนและร้อยละของการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่งจำแนกตามประเภทของผู้บาดเจ็บและการใช้แอลกอฮอล์โรงพยาบาล.............ปีพ.ศ............................. แหล่งข้อมูล : ………………………………………….
คำแนะนำในการสร้างตารางคำแนะนำในการสร้างตาราง • ชื่อของตารางควรอยู่กึ่งกลางและเหนือตาราง • กะขนาดและรูปร่างให้เหมาะสมกับการตีพิมพ์ • ถ้าจำเป็นต้องแสดงค่าเฉลี่ย/ร้อยละ ควรจัดให้อยู่ถัดจากช่องจำนวนที่เป็นฐาน ส่วนยอดรวมจะใส่ไว้ตอนบนของแถวก็ได้ • ตารางควรอยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ • แสดงจำนวนที่เป็น ศูนย์ ด้วย “0” กรณีไม่ได้รับข้อมูล ควรแสดงด้วย “-“ • หลีกเลี่ยงการใช้คำย่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชื่อเรื่อง หัวเรื่อง • ไม่ควรใช้เครื่องหมายละ (-“-) “ฯลฯ”
Graphs(กราฟ) & Charts (แผนภูมิ) • Graph (ข้อมูลต่อเนื่อง เช่น อายุ วันเวลา) • Line graph (arithmatic scale and semi-logarithmic scale) • Histogram • Frequency polygon • Chart ( ข้อมูลไม่ต่อเนื่อง เช่น เพศ กลุ่มอายุ) • Bar charts • Pie charts • Map (spot map pinmap and area map)
รูปที่ 1 อัตราป่วยและอัตราตายของผู้ป่วยโปลิโอ จำแนกรายปี, ฝรั่งเศส,2488-2518 รูปนี้นำเสนอโดยวิธีใด อัตราต่อ 100,000 ประชากร 10 8 6 4 อัตราป่วย 2 อัตราตาย 0 2488 2493 2498 2503 2508 2513 ปี พ.ศ.
รูปที่ 2 อัตราป่วยและอัตราตายของผู้ป่วยโปลิโอ จำแนกรายปี, ฝรั่งเศส, 2488-2518 รูปนี้นำเสนอโดยวิธีใด อัตราต่อ 100,000 ประชากร 10 อัตราป่วย 1 อัตราตาย 0.1 0.01 2488 2493 2498 2503 2508 2513 ปี พ.ศ.
มาตราส่วนที่ใช้ในการนำเสนอด้วยกราฟ • มาตราส่วนเลขคณิต แต่ละหน่วยบนแกน X และ แกน Y • มีขนาดเท่ากัน • มาตราส่วนกึ่งลอการิทึม ใช้กับข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก • หรือแตกต่างกันมาก จะไม่มีค่า “0” โดยเด็ดขาด • Semilogarithmic-scale Line Graphs • มีประโยชน์มากในการลงข้อมูลที่ห่างกันมาก เช่น 10 - 10000 • สามารถแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลง ( rate of change) แต่ไม่สามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงจริง (actual change) • จะต้องระมัดระวังมากในการแปลผล
ตัวแปรสำคัญทางระบาดวิทยาตัวแปรสำคัญทางระบาดวิทยา ลักษณะทางระบาดวิทยา TIME WHEN ? PLACE WHERE ? PERSON WHO ?
ตัวแปรด้านเวลา 1.)แนวโน้ม(Secular Trend) 2.) รอบการเกิดโรค(Cyclical Fluctuation) 3.) ฤดูกาล(Seasonal Variation) 4.) การตรวจจับการระบาด(Epidemic detection)
Secular trend 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
รูปที่ 8 อัตราตายด้วยโรคสครับไทฟัส จำแนกรายปี เขต 1 ปี 2524 – 2550 เปรียบเทียบกับภาคเหนือและประเทศ Secular trend & Cyclical Fluctuation
การนำเสนอด้วยกราฟเส้น (Line graph) • ใช้กับข้อมูลเชิงปริมาณชนิดต่อเนื่อง • นิยมนำเสนอเพื่อดูแนวโน้มของการเกิดโรคตามเวลาและอายุ เพื่อพยากรณ์การเกิดโรค ดูการเปลี่ยนแปลงของโรคตามฤดูกาล การตรวจวัดความผิดปกติของโรค เป็นต้น • นำเสนอข้อมูลได้ตั้งแต่ 1 ชุดขึ้นไป แต่ไม่ควรเกิน 5 ชุด เพราะจะทำให้ไม่สวยงามและดูยาก
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง จำแนกตามวันเริ่มป่วย อำเภอ ก จังหวัด ข เมษายน พ.ศ.2544 จำนวนผู้ป่วย(ราย) รูปนี้นำเสนอโดยวิธีใด วันเริ่มป่วย เมษายน
ฮิสโตแกรม (Histogram) • ใช้แสดงการกระจายความถี่ของข้อมูลเชิงปริมาณชนิดต่อเนื่องเพียง 1 ชุด 1 ตัวแปร • แสดงปริมาณด้วยพื้นที่ ที่สร้างขึ้นเป็นแท่งติดต่อกัน • อย่าสับสนกับแผนภูมิแท่งซึ่งใช้ความยาวแสดงปริมาณ • แสดงหน่วยของพื้นที่ กำกับไว้ด้วย • ห้ามใช้ scale break บนแกน Y • ใช้นำเสนอระยะฟักตัวของโรค เพื่อหาพิสัยและค่าเฉลี่ยของระยะฟักตัวของโรค ที่เรียกว่า “Epidemic curve”
การระบาดชนิดแหล่งโรคร่วมการระบาดชนิดแหล่งโรคร่วม Food
ชนิดของการระบาด แหล่งโรคร่วม (Common source outbreak) Point Intermittent Continuous
จำนวนผู้ป่วยโรคตับอักเสบ เอ ในโรงงานแห่งหนึ่ง ระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด ระยะฟักตัวเฉลี่ย ระยะฟักตัว ที่สั้นที่สุด Epidemic curve: การหาระยะรับเชื้อ Exposure period= (Onset of the first case– ระยะฟักตัวที่สั้นที่สุดของโรค) ถึง (Peak of outbreak– ระยะฟักตัวเฉลี่ยของโรค) จำนวนผู้ป่วย วัน เริ่มป่วย ตุลาคม พฤศจิกายน กันยายน 27
Propagated Source Outbreak 1 IP 1 IP # cases 28 Date of onset
Mixed source 29
การจัดทำ Histogram และการใช้ประโยชน์ในการสอบสวนการระบาด ประโยชน์ใช้บอกลักษณะการระบาด • แหล่งโรคร่วม (Common Source Epidemic) • แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated Source Epidemic
การจัดทำ Histogram และการใช้ประโยชน์ในการสอบสวนการระบาด ประโยชน์ใช้บอกลักษณะการระบาด • แหล่งโรคร่วม (Common Source Epidemic) • แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated Source Epidemic
ประโยชน์ในการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการระบาดประโยชน์ในการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการระบาด (เฉพาะกรณี Common Source Epidemic) • กรณีทราบการระบาดเกิดจากโรคอะไร จากระยะฟักตัวของโรคนั้น สามารถหาวัน เวลา สัมผัสโรค หาปัจจัยเสี่ยง หรือ สาเหตุการเกิดโรคได้ • ตัวอย่าง การคาดการณ์ช่วงเวลาการสัมผัสปัจจัยเสี่ยง
ประโยชน์ในการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการระบาดประโยชน์ในการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการระบาด (เฉพาะกรณี Common Source Epidemic) • กรณีทราบวันเวลาที่สัมผัสปัจจัยเสี่ยงหรือสาเหตุ จะทำให้ รู้ว่าเป็นโรคอะไร อาหารเที่ยง
ประโยชน์ในการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการระบาดประโยชน์ในการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการระบาด (เฉพาะกรณี Common Source Epidemic) • กรณีทราบวันเวลาที่สัมผัสปัจจัยเสี่ยงหรือสาเหตุ จะทำให้ รู้ว่าเป็นโรคอะไร อาหารเที่ยง
โรคอาหารเป็นพิษที่พบบ่อยในภาคเหนือโรคอาหารเป็นพิษที่พบบ่อยในภาคเหนือ
โรคอาหารเป็นพิษที่พบบ่อยในภาคเหนือโรคอาหารเป็นพิษที่พบบ่อยในภาคเหนือ
รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่ (Frequency polygon) • เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการนำเสนอข้อมูลด้วยฮีสโตรแกม • เหมาะสำหรับการเปรียบเทียบข้อมูลแจกแจงความถี่แบบมีอัตรภาคชั้นตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป • เป็นพื้นที่ใต้กราฟ โดยการเชื่อมจุดกลางบนยอดแท่งในแต่ละแท่งของ Histogram ด้วยเส้นตรงแล้วต่อปลายทั้งสองให้จดแกน X โดยผ่านจุดกึ่งกลางความสูงแท่งแรกและแท่งสุดท้าย แล้วลบแท่ง Histogram
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง จำแนกตามวันเริ่มป่วย อำเภอ ก จังหวัด ข เมษายน พ.ศ.2544 จำนวนผู้ป่วย(ราย) วันเริ่มป่วย เมษายน
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง จำแนกตามวันเริ่มป่วย อำเภอ ก จังหวัด ข เมษายน พ.ศ.2544 จำนวนผู้ป่วย(ราย) วันเริ่มป่วย เมษายน
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรง จำแนกตามวันเริ่มป่วย อำเภอ ก จังหวัด ข เมษายน พ.ศ.2544 จำนวนผู้ป่วย(ราย) Frequency polygon =ผู้ป่วย 1 ราย วันเริ่มป่วย เมษายน
รูปที่ 4 จำนวนผู้ป่วย Salmonellosis จำแนกตามวันและเวลาเริ่มป่วย, โรงพยาบาล….., จังหวัด……., สิงหาคม 2539 (N = 65)
ตัวแปรสำคัญทางระบาดวิทยาตัวแปรสำคัญทางระบาดวิทยา ลักษณะทางระบาดวิทยา TIME WHEN ? PLACE WHERE ? PERSON WHO ?
วิธีนำเสนอแบบแผนที่ 1.)Spot/ Pin Map 2.) Area Map
Spot map of facial palsy cases in Thawangpha district, Thailand, 1 Jan - 22 Sep 1999 Thawangpha district Spot map River case Tumbol border
จำนวนผู้ป่วยโรคคางทูม จำแนกตามวันเริ่มป่วย และห้องเรียน โรงเรียน ก จ. แม่ฮ่องสอน พฤษภาคม – กันยายน 2542 (N = 38) Weekly interval 1 child case 1 officer case NS 1 1 / 1 1 / 2 3 / 2 3 / 1 NS 2 2 / 1 2 / 2 Kit. Source: Laosiritaworn, Propagated source outbreak, a single case of mumps lead to a school-wide outbreak
แผนที่ของโรงเรียนจำแนกตามช่วงเวลาที่นักเรียนเริ่มมีอาการติดเชื้อทางเดินหายใจ จ.โยสธร P 6 P 3 P 4 P 5 P 1 S1/2 S1/1 P 2 S2 Computer room 1st -10th Aug 11th -20th Aug K 1 21st -30th Aug S3 Science lab . 31st Aug- 10th Sep K 2 Sound lab. Administer room
แผนที่แบบจุด (spot map) • ใช้จุดบนแผนที่เพื่อบอกตำแหน่ง มักใช้ในการติดตามค้นหาสาเหตุ และการกระจายของโรคที่เกิดขึ้น • ปกติ หนึ่งจุด จะหมายถึง หนี่งราย • ใช้จำนวน ไม่ใช้ rate แผนที่แบบเข็มหมุด (pin map) • เช่นเดียวกับแผนที่แบบจุด แตกต่างเพียงใช้เข็มหมุดปักบนแผนที่ • อาจใช้ความถี่หรือขนาดของจุดเป็นตัวบอกปริมาณ โดยมีหน่วยกำกับไว้
จำนวนผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ A จำแนกตามอำเภอ จ.เชียงราย 1 มค. - 17 พค. 48 District M District WP District WN 48
แผนที่แบบแรเงาหรือระบายสี • ใช้การแรเงาหรือระบายสีลงบนแผนที่ • ปริมาณหรือการเกิดโรคจะมากหรือน้อย ดูจากความหนักเบาของการแรเงา ซึ่งจะมีหน่วยกำกับไว้ • สามารถเลือกใช้ได้ทั้งจำนวน หรือ rate • ไม่ได้แสดงตำแหน่งที่อยู่ของผู้ป่วย แต่แสดงเป็นพื้นที่รวมๆ
การทำแผนที่แสดงการกระจายของโรคแบบ Area map มี 3 วิธีคือ วิธีที่ 1 ใช้ค่าอัตราป่วยของพื้นที่ทั้งหมดเป็นหลัก มีขั้นตอนดังนี้ • แบ่งกลุ่มของอัตราป่วยออกเป็น 4 กลุ่ม • พื้นที่ที่ไม่มีผู้ป่วยเลย • พื้นที่ที่มีผู้ป่วยต่ำกว่าอัตราป่วยรวม • พื้นที่ที่มีอัตราป่วยเท่ากับอัตราป่วยจนถึงน้อยกว่า 2 เท่าของอัตราป่วยรวม • เพิ่มจำนวนกลุ่มของอัตราป่วยเป็นจำนวน 3, 4,.........n เท่า โดยใช้วิธีการข้อ ค • อัตราป่วยกลุ่มสุดท้าย เป็นพื้นที่อัตราป่วยเท่ากับอัตราป่วยรวมจนถึงน้อยกว่า n เท่าของอัตราป่วยรวมจนถึงอัตราป่วยสูงสุด • จัดอัตราป่วยตามขั้นตอนในข้อ 1 • ลงรหัสตามขนาดของอัตราป่วยที่เกิดขึ้นในแผนที่ • เพิ่มเติมข้อมูลการนำเสนอให้สมบูรณ์