1 / 35

ขั้นตอนการปฏิบัติงานทีม MCATT

ขั้นตอนการปฏิบัติงานทีม MCATT. ผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยง หมายถึง ผู้ประสบภัย หรือบุคคลในครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤตที่จัดเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโอกาสเกิดปัญหาสุขภาพจิต 8 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มผู้บาดเจ็บ กลุ่มญาติผู้เสียชีวิต กลุ่มผู้พิการ

spuckett
Download Presentation

ขั้นตอนการปฏิบัติงานทีม MCATT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขั้นตอนการปฏิบัติงานทีม MCATT

  2. ผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยง หมายถึง ผู้ประสบภัยหรือบุคคลในครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤตที่จัดเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโอกาสเกิดปัญหาสุขภาพจิต 8 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มผู้บาดเจ็บ กลุ่มญาติผู้เสียชีวิต กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านหรือติดเตียง กลุ่มผู้มีประวัติใช้สารเสพติดในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา กลุ่มผู้มีประวัติการรักษาทางจิตเวช กลุ่มผู้มีความเครียด กังวล ท้อแท้ สิ้นหวัง จนรบกวนการดำเนินชีวิต ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา8. กลุ่มมีความคิดฆ่าตัวตาย ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา

  3. บริการวิกฤตสุขภาพจิต หมายถึง การให้ความช่วยเหลือเยียวยาจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต โดยการประเมินภาวะสุขภาพจิต คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ให้การดูแลช่วยเหลือฟื้นฟูและติดตามต่อเนื่องจนหมดความเสี่ยง

  4. วิกฤตสุขภาพจิต หมายถึง? ภาวะเสียสมดุลทางอารมณ์และจิตใจจากสถานการณ์หรือเหตุการณ์วิกฤตที่เกิดขึ้นทำให้เกิดความว้าวุ่น สับสนและความผิดปกติที่คนเราไม่สามารถจะใช้วิธีคิดและการปฏิบัติที่เคยใช้ได้ในภาวะปกติ

  5. ภัยพิบัติ เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่มีอันตรายรุนแรงต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศชาติซึ่งต้องการความช่วยเหลือโดยความร่วมมือจากหลายหน่วยงานเพื่อให้กลับฟื้นคืนสู่สภาพปกติ • ภัยพิบัติทางธรรมชาติได้แก่ อุทกภัย ดินโคลนถล่ม วาตภัย คลื่นสึนามิ การเกิดไฟป่า ภัยแล้ง แผ่นดินไหวและโรคระบาด • เป็นต้น ภัยพิบัติจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ อุบัติเหตุหมู่ ไฟไหม้ วิกฤตการเมือง กรณีจับตัวประกัน กรณีการพยายามทำร้ายตัวเอง การรั่วไหลของสารเคมี เป็นต้น

  6. วิกฤตทางสังคม (Social crisis ) หมายถึง วิกฤตหรือความขัดแย้งที่มีที่มาจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม จนเกิดผลกระทบต่อโครงสร้างการดำเนินชีวิต ความเป็นอยู่และสังคม ได้แก่ เหตุการณ์ฆ่าตัวตายหรือวิกฤตทางสังคมและมีผลกระทบต่อครอบครัวและชุมชน เช่น ฆ่ายกครัว 7 ศพ เป็นต้น อุบัติเหตุหมู่ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดที่มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต เกิดขึ้นพร้อมกันจำนวนมากจนต้องระดมกำลังความช่วยเหลือ (ผู้เสียชีวิต มากกว่า 5 คน หรือบาดเจ็บพร้อมกันมากว่า 15 คน)

  7. EOC : ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน • (Emergency Operation Center) • หมายถึง สถานที่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกันของหน่วยงานต่างๆภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อสนับสนุนการบริหารสั่งการ ประสานงาน และเปลี่ยนข้อมูลและทรัพยากรที่เกิดขึ้นอย่างสะดวกรวดเร็วในภาวะฉุกเฉิน

  8. MRET:ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ระดับตติยภูมิในภาวะฉุกเฉิน • (Medical EmergencyResponse Team) • หมายถึง ทีมสหวิชาชีพ ผู้ปฏิบัติหน้าที่เสมือนห้องฉุกเฉินเคลื่อนที่ในภาคสนามเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ เน้น การดูแล รักษาฉุกเฉิน การลำเลียง ส่งต่อ และการดูแลรักษาในระดับตติยภูมิ (แพทย์ พยาบาล เวชกรกู้ชีพ เภสัชกร ช่าง ผู้ช่วยเหลือโภชนากร เจ้าหน้าที่สื่อสาร และเจ้าหน้าที่บริหารหรือการเงิน

  9. miniMRET:ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ในภาวะฉุกเฉินระดับอำเภอ • (mini Medical EmergencyResponse Team) • หมายถึง ทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์ในภาวะภัยพิบัติระดับอำเภอ เป็นทีมที่พัฒนาต่อยอดจากทีมกู้ชีพหรือทีม EMS ซึ่งสามารถออกปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยเหลือ พนักงานขับรถ

  10. MCATT: ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต • (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team) • หมายถึง ทีมสหวิชาชีพที่ให้การช่วยเหลือด้านจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ได้แก่ แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิตและผู้ที่เกี่ยวข้อง

  11. ระยะของภัยพิบัติตามปรากฏการณ์ (Phases of Disaster) • ระยะที่ 1: ระยะเตรียมการ (ก่อนเกิดเหตุ) • ระยะที่ 2: ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (ระยะเกิดเหตุถึง 2 สัปดาห์) • ระยะที่ 2.1: ระยะวิกฤต (72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) • ระยะที่ 2.2: ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง – 2 สัปดาห์) • ระยะที่ 3: ระยะหลังเกิดเหตุการณ์(2 สัปดาห์ – 3 เดือน) • ระยะที่ 4: ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)

  12. สรุปการให้ความช่วยเหลือระยะเตรียมการสรุปการให้ความช่วยเหลือระยะเตรียมการ

  13. ตารางวิเคราะห์ความเสี่ยงภัยตารางวิเคราะห์ความเสี่ยงภัย แผนเตรียมความพร้อม แบบรายงานการซ้อมแผน

  14. กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบกลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบ A: ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บโดยตรง B: ผู้ที่ได้รับผลกระทบทางตรง C: ญาติและเพื่อนที่สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก D: บุคคลที่สูญเสียบ้าน หรือต้องย้ายที่อยู่ชั่วคราว E: เจ้าหน้าที่ผู้ทำการช่วยเหลือ F: ชุมชนในวงกว้าง

  15. Power point ปรับแบบคัดกรอง

  16. ขั้นตอนการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจขั้นตอนการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ

  17. สรุปการให้ความช่วยเหลือระยะวิกฤตและฉุกเฉิน(ตั้งแต่เกิดเหตุ-2 สัปดาห์)

  18. การจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉินการจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉิน • กลุ่มเสี่ยงสูง (แดง) ได้แก่ 1) ผู้บาดเจ็บ 2) ญาติผู้เสียชีวิต 8) ผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตาย ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ข้อ 3-7) อย่างน้อย 2 กลุ่ม • กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (เหลือง) ได้แก่ ผู้ที่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงกลุ่มเดียวในข้อ3) ผู้พิการ หรือ 4) ผู้สูงอายุติดบ้านหรือติดเตียง หรือ 5) ผู้มีประวัติใช้สารเสพติดในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา หรือ 6) ผู้มีประวัติการรักษาทางจิตเวช หรือ 7) ผู้มีความเครียด กังวล ท้อแท้ สิ้นหวัง จนรบกวนการดำเนินชีวิต ในช่วง 2 สัปดาห์ • กลุ่มเสี่ยงต่ำ/ไม่เสี่ยง (เขียว) ได้แก่ ผู้ที่ไม่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงทั้ง 8 กลุ่ม

  19. แบบรายงานสถานการณ์เบื้องต้นแบบรายงานสถานการณ์เบื้องต้น แบบบันทึกข้อมูล MCATT1 ทะเบียนติดตามต่อเนื่อง MCATT2 (ผู้ใหญ่) ทะเบียนติดตามต่อเนื่อง MCATT2 (เด็ก)

  20. เครื่องมือ

  21. แบบประเมิน

  22. แบบประเมินระดับความเครียดแบบประเมินระดับความเครียด แบบคัดกรอง 2Q , 9Q แบบคัดกรอง 2P แบบประเมิน PISCES-10

  23. ขั้นตอนการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจอายุต่ำกว่า 18 ปี

  24. ขั้นตอนการใช้เครื่องมือคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต : ระยะหลังได้รับผลกระทบและระยะฟื้นฟู (กรณีเด็ก)

  25. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในเด็กที่ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ อายุต่ำกว่า 18 ปี

  26. การจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉินการจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉิน • กลุ่มเสี่ยงสูง (แดง) ได้แก่ ผู้ที่เป็น 1) ผู้บาดเจ็บ หรือ 2) เป็นญาติผู้เสียชีวิต หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ข้อ 3-6) อย่างน้อย 2 กลุ่ม • กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (เหลือง) ได้แก่ เด็กที่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงกลุ่มเดียวของ 3) ผู้พิการ/เด็กพิเศษ หรือ 4) ผู้มีประวัติใช้สารเสพติดในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา หรือ 5) ผู้มีประวัติการรักษาทางจิตเวช หรือ 6) ผู้ที่มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตาม symptoms checklist • กลุ่มเสี่ยงต่ำ/ไม่เสี่ยง (เขียว) ได้แก่ เด็กที่ไม่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในกลุ่มเสี่ยง 6 กลุ่ม

  27. การแบ่งระดับความเสี่ยงตามเครื่องมือคัดกรองการแบ่งระดับความเสี่ยงตามเครื่องมือคัดกรอง • ระดับเสี่ยงสูง (แดง) ได้แก่ เด็กที่มีคะแนน CRIES-8 ≥ 17 คะแนน หรือคะแนน PHQ-A ≥ 15 คะแนน หรือคะแนน PHQ-A ข้อ 9 ≥ 1 คะแนน • ระดับเสี่ยงปานกลาง (เหลือง) ได้แก่ เด็กที่มีอาการจาก Symptoms Checklist พบอย่างน้อย 1 อาการ หรือเด็กที่มีคะแนน PHQ-A อยู่ระหว่าง 5 - 14 คะแนน • ระดับเสี่ยงต่ำ/ไม่เสี่ยง (เขียว) ได้แก่ ผู้ที่ไม่มีอาการตามแบบประเมินอยู่ในระดับเสี่ยง • ระยะหลังได้รับผลกระทบ – ระดับเสี่ยงสูงควรส่งพบแพทย์/ระดับเสี่ยงต่ำไม่ต้องติดตามต่อ • ระยะฟื้นฟู - ระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไปส่งพบแพทย์ทุกราย

  28. ประเมินอาการตามกลุ่มอายุประเมินอาการตามกลุ่มอายุ PHQ –A ซึมเศร้าในวัยรุ่น CRIES-8 ประเมินผลกระทบจากเหตุการณ์

  29. คู่มือการปฏิบัติงาน ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต

  30. Power point หมูป่า

  31. Thank You.

More Related