1 / 43

แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. รองศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาติ บัวเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ 1 สิงหาคม 2555. แนวคิดและแนวปฏิบัติในกรอบ TQF ต่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ. มาตรฐานการศึกษาของชาติ.

Download Presentation

แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาติ บัวเจริญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ 1 สิงหาคม 2555

  2. แนวคิดและแนวปฏิบัติในกรอบ TQFต่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

  3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา คุณภาพบัณฑิต การบริหารจัดการ การอุดมศึกษา การสร้างและพัฒนาสังคมฐาน ความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ.๑)

  4. มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (มคอ.๑) • หมายถึง กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตในแต่ละคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชาหนึ่ง... เพื่อให้หลักประกันว่าบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ มีคุณภาพไม่น้อยกว่าที่กำหนด • สถาบันอุดมศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้อย่างอิสระ ตามความต้องการหรือเอกลักษณ์ของสถาบัน

  5. มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (มคอ.๑) • ให้มีการกำกับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่ละสาขาวิชา  มีคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญในสาขา/สาขาวิชา ที่ได้รับมอบหมายจาก กกอ. • ต้องเป็นสากล และเป็นที่ยอมรับของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • เป็นประกาศกระทรวง ที่ให้แนวทางในการดำเนินการแก่สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนสาขา/สาขาวิชานั้นๆ

  6. กำหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้กำหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน • การเรียนการสอนควรเป็นไปในลักษณะที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ทำการทดลองปฏิบัติการจริงและมีโอกาสใช้เครื่องมือด้วยตนเอง • มอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝนทักษะด้านต่าง ๆ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง • การทำงานโครงงานกลุ่มหรือโครงงานเดี่ยวให้สามารถบูรณาการระบบและนำไปใช้งาน กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ • ตามรายละเอียดของหลักสูตร รายวิชา และประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) • ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานอุดมศึกษา เป็นต้น

  7. มาตรฐานคุณวุฒิ • การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ • คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ • คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน • ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ • แนวทางการพัฒนาคณาจารย์ • การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน • การนำมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา.........สู่การปฏิบัติ • การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(การขึ้นทะเบียน)

  8. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

  9. มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1 ๑ ชื่อสาขา/สาขาวิชา ๒ ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ๓ ลักษณะของสาขา/สาขาวิชา ๔ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ๕ มาตรฐานผลการเรียนรู้ ๖ องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ๗ โครงสร้างหลักสูตร ๘ เนื้อหาสาระสำคัญของสาขา/สาขาวิชา เพิ่มรายละเอียด ๙ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้

  10. มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1 ๑๐. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ๑๑. คุณสมบัติผู้เข้าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้ ๑๒. คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ๑๓. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ ๑๔. แนวทางการพัฒนาคณาจารย์ ๑๕. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ๑๖. การนำมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาสู่การปฏิบัติ ๑๗. การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

  11. แบบเดิม วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร กลุ่มเนื้อหาสาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร

  12. ผลการเรียนรู้(Learning Outcomes)คืออะไร? • ผลการเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่พัฒนาขึ้นในตัวนักศึกษา ทั้งจากการเรียนในห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหลักสูตร ปฎิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่น กับอาจารย์ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย

  13. ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)คืออะไร?(ต่อ) • ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง • สาระความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา • ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ • พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย • สกอ. กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน

  14. กรอบการเรียนรู้ 5ด้าน(5 Domains of Learning) • คุณธรรม จริยธรรม • ความรู้ • ทักษะทางปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

  15. ผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตรกำหนดจากข้อมูลใด?ผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตรกำหนดจากข้อมูลใด? • สถานการณ์ภายนอก (เศรษฐกิจ/สังคม) • ปรัชญา ปณิธาน ของมหาวิทยาลัย • ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร • ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต • กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (ถ้ายังไม่มีมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา) • มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา ซึ่งรวมถึง • มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) • ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตในสาขาวิชา

  16. การถ่ายทอดผลการเรียนรู้ จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ สู่หลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯแห่งชาติ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา หลักสูตร

  17. การบรรลุผลการเรียนรู้ของบัณฑิตการบรรลุผลการเรียนรู้ของบัณฑิต • การดำเนินการหลักสูตร • โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา • นักศึกษา ต้องคำนึงถึงคุณสมบัติที่ต้องการให้เหมาะสมกับหลักสูตร • ทรัพยากร (resources) • อาจารย์ • บุคลากรสนับสนุน • ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน • กระบวนการเรียนการสอน/การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา • การบริหารจัดการ และกำกับดูแล • การวางแผน ติดตาม ทวนสอบ ประเมิน แก้ไข

  18. การวางแผนหลักสูตร • กำหนดผลการเรียนรู้ ทั้ง ๕ด้าน (บางสาขาสามารถกำหนดเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม) • กำหนดโครงสร้างหลักสูตร และรายวิชา • กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้สู่รายวิชา • กำหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ สำหรับการเรียนรู้แต่ละด้าน • กำหนดการติดตาม ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ประเมินผลการดำเนินการในระดับรายวิชา/หลักสูตร • การบริหารจัดการ/การประกันคุณภาพ/การประเมิน • กำหนดการทบทวนผลการดำเนินการและแก้ไขปรับปรุง

  19. รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) • การอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ซึ่งถ่ายทอดมาจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือจากมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา (ถ้ามี) • ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ต้องครบถ้วนทั้ง ๕ด้านและไม่ต่ำกว่า มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ/มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา =มคอ.๑(ถ้ามี)

  20. ส่วนประกอบของรายละเอียดของหลักสูตรส่วนประกอบของรายละเอียดของหลักสูตร หมวดที่ ๑. ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร หมวดที่ ๓. ระบบการจัดการศึกษา การ ดำเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร หมวดที่๔ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ หมวดที่๕. หลักเกณฑ์ในการประเมินผล หมวดที่ ๖. การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร หมวดที่ ๗. การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่๘.การประเมินและปรับปรุง การดำเนินการหลักสูตร

  21. หมวดที่ ๔. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล • การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา • การพัฒนาผลการเรียนรู้แต่ละด้าน • ผลการเรียนรู้ที่ต้องพัฒนา • กลยุทธ์การสอน • กลยุทธ์การประเมินผล • แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping, Curriculum alignment)

  22. หมวดที่ ๕. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา • กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) • กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร

  23. หมวดที่ ๘. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร • การประเมินประสิทธิผลของการสอน • การประเมินกลยุทธ์การสอน • การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้กลยุทธ์การสอน • การประเมินหลักสูตรในภาพรวม • การประเมินผลการดำเนินงานตามที่กำหนดในรายละเอียดหลักสูตร • การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง

  24. บทสรุป • รายละเอียดหลักสูตร • เป็นส่วนหนึ่งของกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านมาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของชาติและมาตรฐานคุณวุฒิของสาขาวิชา(ถ้ามี) • เป็นแผนการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ที่คณาจารย์ทุกคนมีส่วนร่วม • เป็นคำมั่นสัญญาที่สถาบันการศึกษาให้กับสังคม

  25. ประโยชน์ที่ได้รับ • ผู้เรียน มีมาตรฐานตามผลการเรียนรู้ • ผู้พัฒนาหลักสูตร มีแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรตาม มาตรฐานระดับชาติ • ผู้ใช้บัณฑิต มีความพึงพอใจในทักษะความสามารถของบัณฑิต • สถาบันอุดมศึกษา มีคุณภาพในการจัดการการศึกษา และ บรรลุผลการพัฒนาบุคลากรเพื่อพัฒนาประเทศ • ประเทศชาติมีบุคลากรที่สามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้

More Related