360 likes | 482 Views
จุดประสงค์การเรียนรู้. เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้. แบบทดสอบ. สาระสำคัญ. แบบฝึกหัด. หน่วยที่ 1 : โปรแกรม ภาษาขั้นพื้นฐาน. ภาษา JavaScript. เรื่อง. ข้อมูลอ้างอิง. จุดประสงค์การเรียนรู้. เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้. แบบทดสอบ. สาระสำคัญ. แบบฝึกหัด. แบบทดสอบก่อนเรียน. แบบทดสอบหลังเรียน.
E N D
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด หน่วยที่ 1 : โปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน ภาษา JavaScript เรื่อง ข้อมูลอ้างอิง
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน JavaScript ภาษา ข้อมูลอ้างอิง
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะและวิธีการสร้างโปรแกรม JavaScript ได้ 2. มีทักษะในการสร้างโปรแกรมด้วย JavaScript ข้อมูลอ้างอิง
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด สาระสำคัญ HTML และ JavaScript เป็นโปรแกรมภาษาที่ใช้สำหรับสร้างและตกแต่งเว็บไซต์ที่นำเสนอบนอินเทอร์เน็ต มีหลักการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ การเขียนโค้ด การคอมไพล์ และการรันโปรแกรม ซึ่ง HTML สามารถทำงานได้โดยไม่ต้องอาศัย JavaScript แต่ JavaScript จะต้องใช้ HTML ช่วยในการรันโปรแกรม ข้อมูลอ้างอิง
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบมีทั้งหมด 5 ข้อ ถ้าพร้อมแล้วให้คลิกที่ปุ่มเริ่มทำแบบทดสอบ ข้อมูลอ้างอิง
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด เนื้อหา/สื่อการเรียนรู้ • JavaScript คืออะไร • การเขียนคำสั่ง JavaScript • การเขียนโค้ด JavaScript • การใส่คำอธิบาย (Comment) • Attributes ในแท็กScript • วิธีแทรก JavaScript Code ลงใน HTML • รูปแบบ script • วิธีซ่อน JavaScript Code ใน HTML ข้อมูลอ้างอิง
Java Script คืออะไร • เป็นภาษาสคริปต์สำหรับเว็บเพจ • เป็นภาษาประมวลผล(Programming language) • ยึดโครงสร้างและพัฒนามาจากภาษาซี ( C language) เป็นต้นแบบ
Java Script คืออะไร • ใช้การประมวลผลแบบ interpreter คือ การแปลภาษาทีละบรรทัด • เป็นโปรแกรมย่อยๆที่สามารถฝังตัวอยู่ใน HTML
Java Script คืออะไร • ผลิตโดยบริษัท Netscape Communications เมื่อปี พ.ศ. 2538 ช่วงแรกใช้ชื่อว่า Mocha และ LiveScriptตามลำดับ ต่อมาได้ร่วมกับบริษัท Sun ร่วมกันสร้างบราวเซอร์Netscape Navigator 2.0 และต้องการให้ใช้ร่วมกับ Java ได้ด้วยทำให้ทางบริษัทจึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น JavaScript จนถึงปัจจุบัน
Java Script คืออะไร • สามารถทำงานบนเว็บเพจได้สะดวกกว่าและสามารถเรียกดูได้โดยไม่ต้องติดตั้งเพิ่มเติม • ถูกใช้ในหลาย ๆ เว็บเพจเพื่อเพิ่มฟังก์ชั่นในการทำงาน, การตรวจสอบรูปแบบ, การติดต่อ กับเซิร์ฟเวอร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย
Java Script คืออะไร • เป็นภาษาสริปต์ที่ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายและเป็นที่นิยมในอินเตอร์เน็ต และบราวเซอร์หลักๆ สามารถใช้งานภาษาสคริปต์นี้ได้ เช่น Internet Explorer, Firefox, Chrome, Opera, Safari ฯลฯ
การเขียนโค้ดJavascript • สัญลักษณ์ < ……> นี้ เรียกว่า Tag (แท็ก) • โดยทั่วไปJavascriptจะใช้ในการจัดการองค์ประกอบทั่วไปของ HTML
การเขียนโค้ดJavascript • แท็ก<script> จะแจ้งเตือนเบราว์เซอร์ ให้ทำการตีความข้อความทั้งหมดที่อยู่ภายในแท็ก <script> ไปยังสคริปต์ • โค้ดของJavascriptนั้น จะอยู่ภายในแท็ก <script>...</script>
Attributes ที่สำคัญในแท็ก Script • ในแท็ก Script มีแอททริบิวต์ที่สำคัญอยู่ 2 ตัวนั่นคือlanguageกับtype • languageแอททริบิวต์นี้เป็นการกำหนดภาษาที่ใช้ของ Scriptโดยจะตั้งเป็น <script language="javascript">
Attributes ที่สำคัญในแท็ก Script • typeแอททริบิวต์นี้เป็นการกำหนดชนิดและลักษณะของภาษาที่ใช้ภายในแท็ก Scriptโดยจะตั้งเป็น • <script type="text/javascript">
รูปแบบ script การกำหนดภาษาที่ใช้ของ Script <script language="javascript"> ... คำสั่งที่เราจะเขียน javascript............ </script> <script language="javascript"> document.write("Hello world"); </script> ตัวอย่าง Script1
รูปแบบ script กำหนดชนิดและลักษณะของภาษาที่ใช้ภายในแท็กScript <script type="text/javascript">... คำสั่งที่เราจะเขียน javascript............ </script> <script type="text/javascript">document.write(“สวัสดีครับ"); </script> ตัวอย่าง Script2
รูปแบบ scriptเต็ม <script language="javascript"type="text/javascript"> ... คำสั่งที่เราจะเขียน javascript............ </script> ตัวอย่าง Script3 <script language="javascript"type="text/javascript"> document.write(“ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บเพจของเรา"); </script>
อธิบาย script จากตัวอย่าง Script1 / Script2 / Script3 จะมีการใช้คำสั่ง document.write(“......ข้อความ...........”) ซึ่งเป็นคำสั่งที่ให้แสดงผลลัพธ์ที่หน้าเว็บ ผลลัพธ์ที่ได้ มีดังนี้ Script1 Script3 Script2
การเขียนคำสั่ง Javascript • การเขียนคำสั่งเขียนจากซ้ายไปขวา บนลงล่าง และจบแต่ละคำสั่งด้วยเครื่องหมาย Semicolon (;) • สามารถรวมคำสั่งเป็นชุดเดียวกันเป็นกลุ่มคำสั่ง (JavaScript Blocks) โดยใช้เครื่องหมาย Curly bracket {…}
การเขียนคำสั่ง Javascript • Javascriptเป็น case-sensitive language นั่นหมายถึง การใช้ตัวพิมพ์เล็ก-พิมพ์ใหญ่ถือเป็นคนละตัวกัน เช่น HELLO กับ hello หรือ Hello ทั้ง 3 ตัวจัดเป็นคนละตัวกัน เมื่อพิมพ์ชื่อผิดก็จะส่งผลทำให้ไม่สามารถเรียกใช้ฟังก์ชั่นได้
การเขียนคำสั่ง Javascript • tab และช่องว่าง ไม่มีผลต่อการเขียนโปรแกรม นั่นคือ คุณสามารถเขียนบรรทัดที่ 1 แล้วเว้นไปบรรทัดที่ 10 ก็ไม่มีผลต่อการแปรของโปรแกรม
การใส่คำอธิบาย (Comment) • การใส่คำอธิบาย ( Comment) การใส่คำอธิบายในคำสั่งเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขหรือ เมื่อผู้อื่นเข้ามาดูก็จะทำให้ทราบถึงคำสั่งนั้นๆ การใส่คำอธิบาย • มีวิธีการอยู่ 2 วิธีคือ
การใส่คำอธิบาย (Comment) • คอมเม้นต์แบบบรรทัดเดียว โดยใช้เครื่องหมาย // สิ่งที่อยู่หลังจากเครื่องหมายนี้ คือคอมเม้นต์ • คอมเม้นต์แบบหลายบรรทัด โดยใช้เครื่องหมาย /* และปิดด้วยเครื่องหมาย */ สิ่งที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายสองตัวนี้คือคอมเม้ต์
การใส่ Comments ใน JavaScript คอมเม้นต์แบบบรรทัดเดียว 1. <script type="text/javascript"> document.write(“Hello world”); // เขียนข้อความว่า Hello world บรรทัดนี้ไม่ใช่คอมเม้นต์ 4. /* โปรแกรมนี้สร้างขึ้นมาเพื่อทดลองใช้ 5. หากมีข้อสงสัยโปรติดต่อ บริษัท*/ 6. บรรทัดนี้ก็ไม่ใช่คอมเม้นต์ คอมเม้นต์แบบหลายบรรทัด
**อย่างไรก็ตาม เราไม่สามารถแสดงผลหน้าเว็บด้วย JavaScript เพียงอย่างเดียวได้ เราจะต้องเขียน script แทรกเข้าไปรวมกับ HTML เพื่อทำงานร่วมกันเพราะ HTML เป็นตัวหลักในการทำเว็บ**
วิธีแทรก JavaScript Code ลงใน HTML สามารถทำได้ 2 วิธีหลักๆ คือ 1. เขียน Code Javascriptลงไปในหน้าเว็บเพจนั้นๆเลย ข้อดีคือ ทำได้รวดเร็ว ซึ่งสามารถแทรกเข้าไป ในหน้าเพจที่ต้องการแทรกไปได้เลยโดยการใส่ Tag <script> และ </script> คร่อมคำสั่งต่างๆของ JavaScript
วิธีแทรก JavaScript Code ลงใน HTML • <html> • <head> • </head> • <body> • <script type="text/javascript"> • document.write("Hello world"); • </script> • </body> • </html> ถ้าเป็นการประกาศ ฟังก์ชั่น หรือกำหนดค่าตัวแปรจะ นิยมทำในส่วน <Head>...</Head> แต่ถ้าเป็นคำสั่งให้ทำงานจริงจะใส่ในส่วน <Body>...</Body>
วิธีแทรก JavaScript Code ลงใน HTML 2. การทำ Include file หรือการแทรกโค๊ด JavaScript อีกวิธีหนึ่ง จะเป็นการเรียกผ่านไฟล์ ซึ่งวิธีแบบนี้จะเหมาะสำหรับโค๊ด หรือ คำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อยๆ เพื่อลดในการเขียนชุดคำสั่ง แต่เราจะเรียกมาใช้แทน การเขียนเข้าไปในหน้าเพจนั้นๆเลยโดยการระบุ แอตทริบิวต์SRC
วิธีแทรก JavaScript Code ลงใน HTML • <html> • <head> • <script language="JavaScript" src="myjavascript.js"> • </script> • </head> • </html> ในส่วนนี้ src=”myjavascript.js” ให้เราระบุที่อยู่ของไฟล์ Javascript
วิธีซ่อน JavaScript Code ใน HTML เป็นวิธีการป้องกันการแสดงผลผิดพลาดจาก บราวเซอร์ที่ไม่รู้จัก JavaScript โดยใช้เครื่องหมาย <!-- ...--> ใส่คร่อม code JavaScript ของเราก็จบ เวลาที่เบราเซอร์อ่าน ถ้ามันรู้จัก JavaScript ของเราก็จะทำงาน ถ้ามันไม่รู้จัก JavaScript มันก็จะข้าม Script ของเราไป เพราะมันจะเห็นเครื่องหมาย comment นั่นเอง
วิธีซ่อน JavaScript Code ใน HTML • <html> • <head> • <script type="text/javascript"> • <!-- • document.write("Hello world"); • //--> • </script> • </head> • </html> สัญลักษณ์เริ่มต้นการซ่อน Script สัญลักษณ์ยกเลิกการซ่อน Script
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด ใบงาน/แบบฝึกหัด คำชี้แจง จงใส่เครื่องหมายถูก () หน้าข้อที่ถูกและใส่เครื่องหมายผิด () หน้าข้อที่ผิด ________1. JavaScript จัดเป็นภาษาประมวลผล ประมวลผล(Programming language) ________2.JavaScript เหมือนกับภาษา HTML ________3.JavaScript ใช้การประมวลผลแบบ Compiler ________4.JavaScript และ Java คือ ภาษาเดียวกัน ________5. ตำแหน่งการเขียนคำสั่ง JavaScript สามารถเขียนได้ที่ส่วน Body เท่านั้น ข้อมูลอ้างอิง คลิกดูไฟล์ใบงาน
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด ใบงาน/แบบฝึกหัด ________6. ตำแหน่งการเขียนคำสั่ง JavaScript สามารถเขียนได้ที่ส่วน Head ________7.ตัวแปรคือ การจองพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล ________8. การส่งค่าเข้าสู่ฟังก์ชั่น (prompt) สามารถทำโดยผู้ใช้งาน ________9. การเขียนคำสั่ง JavaScript เขียนจากบนลงล่าง ________10. ตัวแปร HELLO กับ hello หรือ Hello ทั้ง 3 ตัวจัดเป็นตัวแปรเดียวกัน ข้อมูลอ้างอิง
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบมีทั้งหมด 5 ข้อ ถ้าพร้อมแล้วให้คลิกที่ปุ่มเริ่มทำแบบทดสอบ ข้อมูลอ้างอิง
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา/ สื่อการเรียนรู้ แบบทดสอบ สาระสำคัญ แบบฝึกหัด ข้อมูลอ้างอิง • http://www.doesystem.com/792d165169a836b12b91183ba1dee69a/Javascript-Basic.htm • http://www.thaigoodview.com/node/51120 • http://realdev.truehits.net/javascript/charpter1.php • http://www.freewebs.com/maneemana/ • http://www.codetukyang.com/java/button/ • http://www.codetukyang.com/java/ • http://writejavascript.blogspot.com/ ข้อมูลอ้างอิง