1 / 36

ผู้ทิ้งงาน

ผู้ทิ้งงาน. ห้ามก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงาน. การทิ้งงาน. เป็นมาตรการลงโทษที่กำหนดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายของส่วนราชการจากผู้ทิ้งงานโดยห้ามส่วนราชการก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงานที่ถูกแจ้งเวียนชื่อแล้ว. ใครคือผู้ทิ้งงาน. บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล

Download Presentation

ผู้ทิ้งงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้ทิ้งงาน • ห้ามก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงาน

  2. การทิ้งงาน • เป็นมาตรการลงโทษที่กำหนดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายของส่วนราชการจากผู้ทิ้งงานโดยห้ามส่วนราชการก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงานที่ถูกแจ้งเวียนชื่อแล้ว

  3. ใครคือผู้ทิ้งงาน • บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล • มีนิติสัมพันธ์กับส่วนราชการ • ถูกผู้รักษาการสั่งลงโทษให้เป็นผู้ทิ้งงาน

  4. หลักเกณฑ์ • ผู้ได้รับการคัดเลือกแล้ว ไม่ยอมไปทำสัญญาในเวลาที่ทางราชการกำหนด • คู่สัญญา ผู้รับจ้างช่วงที่ได้รับอนุญาตให้ช่วงงานได้ ไม่ปฏิบัติตามสัญญา • คู่สัญญาไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่องหรือพัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ครบถ้วนทำให้งานเสียหายอย่างร้ายแรง • งานก่อสร้างสาธารณูปโภค / ผิดพลาด / ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง

  5. หลักเกณฑ์ • ที่ปรึกษาที่มีผลงานบกพร่อง / ผิดพลาด / ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง • ผู้กระทำการขัดขวางการแข่งขันราคา / กระทำการโดย ไม่สุจริตในการเสนอราคา

  6. การลงโทษผู้ทิ้งงาน • ลงโทษนิติบุคคล ถ้าการกระทำเกิดจากผู้บริหาร • นิติบุคคลรายใดถูกสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน มีผลถึง นิติบุคคลอื่นที่ดำเนินธุรกิจประเภทเดียวกัน ซึ่งมีผู้บริหารคนเดียวกันด้วย • บุคคลธรรมดารายใดถูกสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน มีผลถึง นิติบุคคลอื่นที่บุคคลดังกล่าวเป็นผู้บริหารด้วย

  7. การเพิกถอนผู้ทิ้งงาน • ถูกลงโทษตัดสิทธิมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี • มิได้กระทำไปด้วยเจตนาทุจริต หรือเป็นการเอาเปรียบทางราชการ หากเป็นไปด้วยความประมาทเลินเล่อ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือด้วยความจำเป็นบางประการ • เป็นบริษัทที่มีฐานะมั่นคง มีเกียรติประวัติดีมาก่อน ไม่เคยสร้างความเสียหายแก่ทางราชการ • ยอมรับและรู้สำนึกความผิดในการกระทำของตน

  8. การกำหนด Spec

  9. ระเบียบ ..... 2535 หน่วยงานที่จัดหา หน่วยงานผู้ใช้พัสดุ ใครเป็นผู้กำหนด Spec

  10. การกำหนด spec : กำหนดอย่างไร • กำหนดตามความต้องการของหน่วยงานผู้ใช้พัสดุ • ตามมาตรฐานของทางราชการ • ต้องชัดเจน • ต้องไม่เป็นการกีดกันทางการค้า • ต้องคำนึงถึงการแข่งขันราคาที่มีผู้เสนอราคาได้หลายราย หากต้องเจาะจง ..... ใช้วิธีพิเศษ

  11. การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จัดหาการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จัดหา • ข้อ 15 ทวิ • ข้อ 16 • มติคณะรัฐมนตรี • สร 0203 / ว 52 ลว 28 มี.ค. 2520 • นร 0505 / ว 83 ลว 30 พ.ค. 2550 • นร 0506 / 2180 ลว 24 ม.ค. 2551

  12. การจัดหาพัสดุ (ข้อ 15 ทวิ) • เปิดเผย • โปร่งใส • ให้มีการแข่งขันราคาได้หลายราย

  13. การจัดหาพัสดุ (ข้อ 16) • ให้ใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย • ให้สนับสนุนสินค้าไทย • มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุสาหกรรม (มอก.) • มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุสาหกรรม (มอก.) + ISO • ที่ได้จดทะเบียนรับรองผลิตภัณฑ์

  14. การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทยการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย

  15. ห้ามกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ซึ่งอาจมีผลกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตหรือผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทยสามารถ เข้าแข่งขันกันในการเสนอราคากับทางราชการ • ห้ามกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ของพัสดุที่จะซื้อให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง หรือของผู้ขายรายใดรายหนึ่งโดยเฉพาะ • ห้ามระบุยี่ห้อสิ่งของที่ต้องการจะซื้อทุกชนิด (หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203 / ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 )

  16. การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ • มีให้ใช้อย่างเคร่งครัด • ถ้าไม่มี ..... ให้จัดหาตามหลักเกณฑ์ปกติ • มี • แต่ไม่เพียงพอ • มีน้อยราย • จำเป็นต้องใช้ของนอก • จำเป็นต้องนำเข้า • ในกรณีที่เป็นประโยชน์ยิ่งกว่า ให้เสนอรัฐมนตรี

  17. พัสดุที่นำเข้าจากต่างประเทศพัสดุที่นำเข้าจากต่างประเทศ • เป็นความรับผิดชอบของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ • หลักเกณฑ์ • เป็นการจัดหาอะไหล่ ซึ่งมีความจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ หรือคุณลักษณะเฉพาะ และจำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศ • เป็นการจัดหาครั้งหนึ่งที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท หรือราคาพัสดุที่นำเข้าจากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกิน 2 ล้านบาท

  18. การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ : ว 83 • การใช้พัสดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือนำเข้าจากต่างประเทศ หมายถึง การใช้หรือนำเข้าพัสดุที่ผลิตสำเร็จรูปแล้วจากต่างประเทศไม่ว่านำเข้าโดยคู่สัญญาหรือบุคคลอื่นใด • หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0505/ ว 83 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2550

  19. สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กระดาษ กระดาษชำระ กล่องใส่เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์ เครื่องเรือนเหล็ก ซองบรรจุภัณฑ์ • ตลับหมึก • แบตเตอรี่ปฐมภูมิ • ปากกาไวต์บอร์ด • ผลิตภัณฑ์ลบคำผิด • แฟ้มเอกสาร • สีทาอาคาร • หลอดฟลูออเรสเซนต์

  20. บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บริการทำความสะอาด บริการเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร บริการโรงแรม

  21. คุณลักษณะเฉพาะ : บริการทำความสะอาด ต้องไม่ใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่มีส่วนผสมของสารอันตราย พนักงานต้องได้รับการฝึกอบรมด้านการใช้ทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ พร้อมแนบหลักฐานยืนยันการฝึกอบรมพนักงาน มีการดำเนินการ อธิบายขั้นตอนและเสนอแนะแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการให้พนักงานทำความสะอาด คัดแยกขยะบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้อื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากขยะทั่วไปที่มีอยู่ในอาคารสำนักงานเพื่อนำกลับไปแปรรูปหรือเวียนใช้ใหม่ รวมถึงจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการพร้อมรายงานผลการดำเนินการคัดแยกขยะตามระยะเวลาที่เหมาะสม

  22. การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ : งานก่อสร้าง • โครงการก่อสร้าง • แบบรูปรายการก่อสร้าง • บัญชีแสดงประมาณงานและรายการก่อสร้าง (BOQ) • ราคากลาง • คณะกรรมการ .. เบี้ยประชุม • หลักเกณฑ์การคำนวณ

  23. ความหมาย:งานก่อสร้าง งานก่อสร้างตามหลักทั่วไปที่มีกฎหมาย ระเบียมติคณะรัฐมนตรีหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ สัญญาซื้อขายงานก่อสร้าง และหรือพร้อมติดตั้งโครงสร้างพื้นฐานให้พิจารณาลักษณะของสัญญาว่า สัญญามีงานก่อสร้างเป็นสาระสำคัญ ซึ่งมีราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่ติดตั้ง ถือว่าเป็นงานก่อสร้าง มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 2 ธันวาคม 2551

  24. ความหมาย : งานก่อสร้าง หมายความรวมถึง ๑. งานเคลื่อนย้ายอาคาร ๒. งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรื้อถอนและงานซ่อมแซมซึ่งส่วนราชการเห็นว่ามีความจำเป็นจะต้องมีการควบคุมและดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลาดำเนินการตามความเหมาะสม (ว 1939 ลว 24 ก.พ.2537)

  25. งานก่อสร้าง • งานปรับปรุงอาคารที่เป็นการปรับปรุงภายในอาคารไม่กระทบต่อโครงสร้างเดิม โดยการรื้อผนังเดิมกั้นใหม่เป็นกระจกกั้นห้องประชุม ย้ายดวงไฟ ย้ายเครื่องปรับอากาศ ติดตั้งมู่ลี่กั้นปรับแสง กั้นเป็น Partition ปูกระเบื้องยาง ปรับปรุงห้องประชุม ห้องสมุด ถือเป็นงานดัดแปลง • หากจำเป็นต้องมีการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของ ผู้รับจ้างตลอดเวลา จึงถือเป็นงานก่อสร้าง

  26. งานก่อสร้าง • จะต้องคำนวณราคากลางจากแบบรูปรายการละเอียดที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550 แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506 / 2362 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2550 • หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0408.5 / ว 9 ลงวันที่ 7 มีนาคม 2550 • ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม 2550 เป็นต้นไป

  27. ความหมาย : ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่ละโครงการ ซึ่งได้จากการประเมินหรือคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้าง แต่เป็นราคาที่ทางราชการยอมรับไม่สูงจนผู้ประกอบการได้กำไรมากเกินกว่าที่ควรได้รับ และเป็นราคาที่ไม่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะดำเนินการก่อสร้างได้

  28. ราคากลางงานก่อสร้าง • ค่างานต้นทุน (Direct Cost)คำนวณรวมกับค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง (Indirect Cost)ซึ่งได้จัดทำไว้ในรูปของตาราง Factor F และค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็นต้องมี • กรณีของงานก่อสร้างอาคาร • ราคากลาง = (ค่างานต้นทุน × Factor F)+ผลรวมค่าครุภัณฑ์สั่งซื้อหรือจัดซื้อ(รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) +ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นๆ • ทาง สะพาน ท่อเหลี่ยม และชลประทาน • ราคากลาง = (ค่างานต้นทุนของแต่ละรายการก่อสร้าง × Factor F ) • ทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม ที่มีค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดฯ • ราคากลาง = (ค่างานต้นทุนของแต่ละรายการก่อสร้าง × Factor F ซึ่งคำนวณรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดฯ ไว้แล้ว)

  29. ปัญหาที่พบ • มิได้แยกครุภัณฑ์ที่จัดซื้อ • ราคาวัสดุก่อสร้างไม่ตามกระทรวงพาณิชย์ • คิดค่าใช้จ่ายดำเนินการที่รวมใน Factor F แล้ว ซ้ำ • คิด Factor F ไม่ถูกต้อง • ใช้เกณฑ์คำนวณผิดประเภท • ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง • ถอดแบบไม่ถูกต้อง / ซ้ำซ้อน • ไม่ชี้แจงความจำเป็น รายละเอียดของค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องมี

  30. งานก่อสร้าง • งานก่อสร้าง ต้องกำหนดค่า K ** • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22สิงหาคม 2532แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0203/ ว 109 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2532 เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือ ผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง

  31. เงื่อนไขและหลักเกณฑ์ • สัญญาแบบปรับราคาได้ • ให้ใช้กับงานก่อสร้างทุกประเภท รวมถึงงานปรับปรุงและซ่อมแซมซึ่งเบิกจ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง • ใช้ทั้งเพิ่มหรือลดค่างานจากค่างานเดิมตามสัญญา โดยใช้ดัชนีของกระทรวงพาณิชย์ ที่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อวันเปิดซองประกวดราคา สำหรับการจ้างโดยวิธีอื่น ใช้วันเปิดซองราคา • ต้องประกาศและระบุในสัญญา พร้อมกำหนดประเภทของงานก่อสร้างและให้สอดคล้องกับสูตรที่กำหนด

  32. เงื่อนไขและหลักเกณฑ์ • สัญญาแบบปรับราคาได้ (ต่อ) • งานก่อสร้างมีหลายประเภทในคราวเดียวกัน ต้องแยกประเภทให้ชัดเจน • การขอเพิ่มค่างาน ต้องขอใน 90 วัน นับแต่ส่งมอบงานงวดสุดท้าย • การเรียกเงินคืน ต้องดำเนินการโดยเร็วหรือหักค่างานของงวดต่อไปหรือหักเงินจากหลักประกันสัญญา แล้วแต่กรณี • การคำนวณ การจ่ายเงินเพิ่มหรือเรียกเงินคืนต้องได้รับความเห็นชอบจากสำนักงบประมาณ

  33. สูตรใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้สูตรใช้กับสัญญาแบบปรับราคาได้ P = (Po) x (K) P = ราคาค่างานต่อหน่วยหรือราคาค่างานเป็นงวด ที่จะต้องจ่ายให้ผู้รับจ้าง Po= ราคาค่างานต่อหน่วยที่ผู้รับจ้างประมูลได้ หรือ ราคาค่างานเป็นงวดซึ่งระบุไว้ในสัญญา K=ESCALATION FACTOR ที่หักด้วย 4 % เมื่อต้องเพิ่มค่างาน หรือบวกเพิ่ม 4 % เมื่อต้องเรียกค่างานคืน

  34. นร (กวพ) 1204 / ว 11542 ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2539 • ให้ส่วนราชการสำรวจและกำหนดปริมาณงานดินถม งานดินตัก ในแบบรูปรายการละเอียดให้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง • การสำรวจสภาพดินในสถานที่ก่อสร้างเพื่อกำหนดแบบรูปรายการละเอียดในงานฐานรากต้องแน่นอนชัดเจนโดยเฉพาะความสั้นยาวและขนาดของเสาเข็ม ที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงราคาค่างานก่อนเริมดำเนินการจัดจ้าง

  35. นร (กวพ) 1204 / ว 11542 ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2539 • กรณีไม่อาจกำหนดแบบรูปรายการละเอียดของฐานราก ให้แน่นอนได้ จำเป็นต้องให้มีทางเลือกในการเปลี่ยนแปลงรายการตามสภาพของการก่อสร้างได้ ให้กำหนดเงื่อนไขเป็นทางเลือกตั้งแต่ต้น และชั้นเสนอราคาและการพิจารณาของทางราชการ ให้มีการกำหนดราคาค่าจ้างในส่วรต่าง ๆ ให้ชัดเจนและระบุไว้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย หากจำเป็นต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในรายการฐานราก ใช้ข้อ 136 ตกลงในเนื้องาน ราคาและระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลง พร้อมกันไป

  36. นร (กวพ) 1204 / ว 11542 ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2539 • การประกาศประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้าง ส่วนราชการต้องถือปฏิบัติตามนัยหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี โดยเคร่งครัด • การทำสัญญาแบบราคาเหมารวม ส่วนราชการควรนำหลักเกณฑ์ตามนัยหนังสือเวียนไปกำหนดเป็นเงื่อนไขไว้ในเอกสารประกวดราคาและในสัญญาด้วย

More Related