210 likes | 426 Views
การใช้และเบิกวัคซีน เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรค. ภญ.ศิริรัตน์ เตชะธวัช กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป. การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค. ระยะก่อนเกิดโรค ระยะที่มีการระบาด. ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุม
E N D
การใช้และเบิกวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคการใช้และเบิกวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรค ภญ.ศิริรัตน์ เตชะธวัช กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป
การใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคการใช้วัคซีนเพื่อการป้องกันและควบคุมโรค • ระยะก่อนเกิดโรค • ระยะที่มีการระบาด
ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมตรวจสอบประวัติและความครอบคลุม • ติดตามเด็กที่พลาดการได้รับวัคซีนให้มารับวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด(Follow up/Catch-up) ในพื้นที่ที่สามารถดำเนินการได้ง่าย • รณรงค์ให้วัคซีนเสริม (SIA) แก่เด็กกลุ่มเสี่ยงสูง(เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส และ เด็กในกลุ่มแรงงานต่างชาติ) • ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมการได้รับวัคซีน • เด็กในพื้นที่รับผิดชอบ • เด็กกลุ่มเสี่ยงสูง ระยะก่อนเกิดโรค ก่อนเกิดโรค
ตรวจสอบระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเป้าหมายรายไตรมาสเด็กอายุครบ 1 ปี OPV3 เกณฑ์กำหนด > 90% MMR เกณฑ์กำหนด > 95% (รวมถึงความครอบคลุม MMR ในนักเรียนชั้น ป. 1) ระยะก่อนเกิดโรค
ตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในพื้นที่ที่ระบาดตรวจสอบประวัติและความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในพื้นที่ที่ระบาด • เด็กก่อนวัยเรียน • เด็กนักเรียน • ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ/ป่วย ระยะเกิดการระบาด พบผู้ป่วยสงสัย โรคโปลิโอ1 รายขึ้นไป ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกัน พบผู้ป่วยสงสัย โรคหัด2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกัน เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว
ติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันทีติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันที กรณีพบผู้ป่วย AFP หรือสงสัยโรคโปลิโอ (อายุต่ำกว่า 15 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน OPV3 > 90% < 90% /ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ • รีบให้ OPV แก่เด็กทุกคน อายุเท่ากับหรือน้อยกว่าผู้ป่วย ในตำบลที่มีการถ่ายทอดโรค ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก กรณียืนยันเป็นโปลิโอ ให้ทำการรณรงค์ให้วัคซีนทั้งจังหวัด และในพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์ทางระบาดวิทยา
ติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันทีติดตามเด็กเฉพาะรายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนทันที กรณีหัดระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุ<7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด/MMR > 95% < 95% /ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ รีบให้ MMR แก่เด็ก >9 เดือน – 6 ปีทุกคนในหมู่บ้าน+หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม.หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน ให้แยกเลี้ยงไม่ให้คลุกคลีกับผู้ป่วย
เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค กรณีหัดระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน ดูหลักฐานยืนยัน ไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ได้รับ • รีบให้ MMR • ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ไม่ต้องให้ MMR
กรณีหัดระบาดในผู้ใหญ่กรณีหัดระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ 2533 ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อน 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขตการให้วัคซีน ขึ้นกับผลการสอบสวนและแบบประเมินฯ ตรวจสอบการได้รับ MMRเมื่อเข้า ป.1 เคยได้รับ ไม่เคย/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ > 2 % • ให้ MMR • ควรให้แล้วเสร็จภายใน72ชม. หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก • ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์ ไม่ให้ MMR • ให้ MMRเฉพาะกลุ่มอายุ>2% • ควรให้แล้วเสร็จภายใน72 ชม.หลังได้รับรายงานผู้ป่วยรายแรก • ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์ ไม่ให้ MMR
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(1) ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น • การระบาดของโรค............................................... • สถานที่พบผู้ป่วย................................ • ตำบล.............................................. • อำเภอ............................................. • จังหวัด............................................ • วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก......../......../......... • วันที่พบผู้ป่วยรายแรก.........../.........../............
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(2) อัตราป่วยจำแนกรายกลุ่มอายุ
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่(3) • จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก.................................ขวด • วันที่เริ่มให้วัคซีน............./................/................... • ผู้ให้ข้อมูล............................................................. • สถานที่ทำงาน........................................................ • เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน......................................... • เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่......................................... • วันที่ส่งแบบประเมิน............/.................../..............
บทบาทในการจัดหาและสนับสนุนวัคซีนบทบาทในการจัดหาและสนับสนุนวัคซีน (ปี 2553 ถึงปัจจุบัน) วัคซีนพื้นฐาน (EPI Routine & EPI นักเรียน) วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง Rabies vaccines สปสช. วัคซีนในการกำจัดกวาดล้าง โรคหัดและโปลิโอ ตามพันธะสัญญานานาชาติ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในบุคลากร กลุ่มเสี่ยง วัคซีน ผู้เดินทางไปต่างประเทศ กรมคร.
การจัดหาวัคซีนในโครงการกำจัดโรคหัด การจัดหาวัคซีนในโครงการกำจัดโรคหัด • ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขให้วัคซีนMMR2 ครั้ง ในเด็กอายุ 9-12 เดือน และเด็กชั้น ป.1 แล้ว ผู้เชี่ยวชาญจึงแนะนำให้ใช้วัคซีน MMRในโครงการกำจัดโรคหัด • กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป จึงจัดหาวัคซีน MMRชนิด multiple dose(10 โด๊ส/ขวด) ซึ่งมีไวรัสคางทูมสายพันธุ์ Urabe
แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(1)แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(1) กรมควบคุมโรค และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ได้ประชุมหารือ เรื่อง บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในวันที่ 23 มิถุนายน 2554ที่ประชุมมีมติให้ • กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีน OPVและMMRในโครงการกวาดล้างโรคโปลิโอ และการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ ทุกกรณีที่ไม่ใช่การให้วัคซีนตามระบบปกติ(EPI routine)
แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(2)แนวทางการสนับสนุนวัคซีนเพื่อการป้องกัน/ควบคุมการระบาด(2) สปสช. รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีนอื่นที่ใช้ในEPI routine(ยกเว้น OPV และ MMR) • เพื่อรณรงค์เก็บตกให้วัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน/ เด็กวัยเรียนที่ไม่ได้วัคซีนครบตามเกณฑ์ • เพื่อรณรงค์ให้วัคซีนเสริมแก่เด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ที่ไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน หรือ ในกลุ่มเสี่ยงสูง • เพื่อป้องกันการระบาดของโรคติดต่ออื่น เช่น โรคคอตีบ (DTP-HB, DTP, dT) สสจ. ส่งหนังสือขอเบิกไปยัง “สำนักโรคติดต่อทั่วไป” เพื่อพิจารณาก่อนแจ้งให้ “สปสช.สนับสนุนวัคซีน”
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน (1) สสจ. มีหนังสือขอเบิกวัคซีนไปยัง สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โดยมีรายละเอียดดังนี้ เหตุผลการเบิกวัคซีน (เพื่อรณรงค์ก่อนระบาด/ควบคุมการระบาด) จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ชนิดและจำนวนวัคซีนที่ขอเบิก(รวมอัตราสูญเสีย ร้อยละ 10) วันที่ต้องการได้รับวัคซีน และวันที่จะให้บริการวัคซีน ชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ของผู้ประสาน รายงานผลให้สำนักโรคติดต่อทั่วไปทราบภายใน 2 สัปดาห์
ตัวอย่าง แบบรายงานการให้วัคซีนเพื่อการรณรงค์/ควบคุมโรค พื้นที่รณรงค์หรือควบคุมโรค..................................
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MMR (2) • หากต้องการใช้วัคซีนอย่างรีบด่วน เพื่อควบคุมการระบาด ขอให้ สสจ.ประสานงานมาได้ที่ กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์โทรศัพท์0-2590-3222 และ 0-2590-3365 โทรสาร 0-2591-7716 หรือ e-mail : pharma_gcd@hotmail.com • สำนักโรคติดต่อทั่วไป จะจัดส่งโดยวิธีต่างๆ เช่น - จัดส่งให้เอง - ส่งทางรถไฟ รถทัวร์ หรือ บริษัทเอกชน