390 likes | 713 Views
“ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ภายใต้การบูรณาการร่วมกัน DHS”. นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค. การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประจำปี พ.ศ. 2557 ( Disease Control Strategic Partner Networks )
E N D
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้การบูรณาการร่วมกัน DHS” นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประจำปี พ.ศ. 2557 (Disease Control Strategic Partner Networks) วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ พระราม 3 บางโคล่ กรุงเทพมหานคร
“กรอบแนวคิด และทิศทางการพัฒนา”
“ความมั่นคงทางสุขภาพ”คือ รากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน หน่วยงาน สธ.ส่วนกลาง ภาคประชาชน กรมควบคุมโรค NGOs กรมวิทย์ฯ หน่วยงาน สธ.ส่วนภูมิภาค กรมอนามัย กรมสนับสนุนฯ สสจ. ร.พ. ประชาชน ชุมชน ประเทศชาติ รพสต. สป. กรมแพทย์ แผนไทย สสอ. สน.บริหารเขต อย. รัฐวิสาหกิจ องค์กรในกำกับ กสธ. กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ กระทรวงอื่นๆ หน่วยงานระหว่างประเทศ
จาก“4 ระบบหลัก”ของกระทรวงฯเชื่อมโยงสู่...ส่วนภูมิภาค ระบบบริการสุขภาพ ระบบสร้างเสริมสุขภาพ ระบบป้องกันและควบคุมโรค ระบบคุ้มครองผู้บริโภคฯ • หน่วยงานส่วนกลาง “ระดับประเทศ” • แบ่งองค์กรรับผิดชอบแต่ละภารกิจ • ระบบบริการสุขภาพ: สป. กรม สบส. กรมการแพทย์ • ระบบสร้างเสริมสุขภาพ: กรมอนามัย • ระบบป้องกันและควบคุมโรค: กรมควบคุมโรค • ระบบคุ้มครองผู้บริโภคฯ: อย. แพทย์แผนไทยฯ กรมต่างๆ หน่วยงานส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาค ทั้ง “ระดับเขต” และ “ระดับพื้นที่” มีการบูรณาการภารกิจหลักทั้ง 4 ภายในหน่วยงาน โดยอาจอยู่ในรูปของกลุ่ม/ฝ่าย หรือมีผู้รับผิดชอบงานชัดเจน สน.บริหารเขต สสจ./ สสอ./ ร.พ./ รพสต.
Conceptual Framework of DHS Development Specialist Provincial Hospital Unity of District Health Teams(รพ.ชุมชน–สสอ.–รพ.สต.–อปท.–ชุมชน ) Other Sectors CBLCommon GoalCommon ActionCommon Learning Essential Cares Self Care SRM Action Research / R2R • Psychosocial Outcomes • Value • Satisfaction • Happiness • Clinical Outcomes • Morbidity • Mortality • Quality of Life
P &P MCH EMS Acute Minor Diseases Dental Health Chronic Diseases Psychiatric Diseases & Mental Health Disabilities End of life care High risk groups (Pre-school, Adolescent, Elderly) • Concept & Policy • Structure & Organization • Resources Allocation & Sharing • Manpower Development • Information System • Supportive mechanism • New Management (Partnership & Networking)
แนวทางการพัฒนา DHS ด้วยกลไกบันได 5 ขั้น ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)
“ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ” SP&DHS VISION District Health System : DHS เป้าหมายระบบสุขภาพอำเภอ - สถานะสุขภาพ - Self Care - ทีมสุขภาพอำเภอเข้มแข็ง
ODOP ODOP ODOP ODOP ODOP อำเภอสุขภาวะ ทีมา: สำนักบริหารการสาธารณสุข 2556
มิติการป้องกัน ควบคุมโรค
แนวคิดการป้องกัน ควบคุมโรค เพิ่มคุณภาพชีวิต การป้องกัน 3 ระดับ ลดวิถีชีวิตเสี่ยง ลดการเกิดโรค ลดการเข้าอยู่ใน รพ. ลดความพิการ ประชากรทั้งหมด คนทั่วไป สัมผัสความเสี่ยง มีสัญญาณผิดปกติ มีสภาวะแทรกซ้อน พิการ/ตาย เป็นโรค มีอาการ ป้องกันและชลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ลดความรุนแรงของ ภาวะแทรกซ้อน ป้องกันการเพิ่มขึ้น ของประชากรที่มีปัจจัยเสี่ยง การจัดการรายกลุ่ม การจัดการรายบุคคล ส่งเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในสิ่งแวดล้อม Adapted from Wagner CCM, 1998
สธ กรม สคร สสจรพศ สสอรพช รพสต ระบบ ...ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของไทย องค์กรและเวทีระหว่างประเทศ ระดับทวิภาคี ระดับภูมิภาคและ ระดับโลก เช่น WHO, FAO, OIE, UNICEF, ASEAN, APEC, ACMECS, etc. • กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรฐาน • สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ • กำกับ ประเมินผล • บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ภาคส่วน อื่นๆ เช่น ธุรกิจ เอกชน รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย NGOs อปท • สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ • กำกับ ประเมินผล • ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค • สนับสนุนปฏิบัติการ • ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค • ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ชุมชน ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร กลุ่มกิจกรรมในชุมชน กิจกรรมและพฤติกรรม ป้องกัน ควบคุมโรค ในชุมชน 12
หลักการและแนวคิด พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน ประเทศควบคุมโรค เข้มแข็ง • จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรคและภัยสุขภาพ บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการปกป้องจาก โรคและภัยสุขภาพ
ผลสัมฤทธิ์ระบบการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องการป้องกันควบคุมโรคผลสัมฤทธิ์ระบบการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องการป้องกันควบคุมโรค “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ วัดจากคุณลักษณะ 5 ด้าน
องค์ประกอบสำคัญ บ่งชี้“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” SRRT ตำบล ที่มา: คู่มือประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556 (ดาวน์โหลดจาก www.kmddc.go.th)
สาธารณสุข พาณิชย์/ การเงิน แรงงาน กรมควบคุมโรค การศึกษา สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย การบริการ ที่สำคัญ อื่นๆ การมีส่วนร่วมของ “ทุกภาคส่วน”
ภาคีเครือข่ายสำคัญ ที่ทำให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” มท. จังหวัด สธ. ประชาชนในอำเภอ ได้รับการปกป้อง จากโรค และภัยสุขภาพ อำเภอ กรมควบคุมโรค
เป้าหมายการพัฒนา“เขตสุขภาพ” กับ “เขตควบคุมโรค” • หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของกรมควบคุมโรค ควรทํางานเป็นเนื้อเดียวกัน ทํางานร่วมกันแบบไร้รอยต่อ เพื่อเชื่อมโยงงานจากส่วนกลางสู่ภูมิภาค และปรับให้เหมาะสมกับบริบทปัญหาของแต่ละพื้นที่ โดยเข้าใจปัญหาอย่างแท้จริง และสามารถตอบสนองต่อการจัดการปัญหานั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาทสำคัญการควบคุมโรคของพื้นที่ต้องสามารถ...บทบาทสำคัญการควบคุมโรคของพื้นที่ต้องสามารถ... • ประเมินสถานการณ์ และจัดลำดับความสำคัญของโรคและภัยสุขภาพ รวมถึงการวิเคราะห์จัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยงที่ต้องเน้นหนัก • กำหนดยุทธศาสตร์มาตรการและเป้าหมาย ในการลดปัจจัยเสี่ยงและโอกาสเสี่ยง รวมทั้งเพิ่มคุณภาพการจัดบริการป้องกันควบคุมในระบบบริการ • มีแผนยุทธศาสตร์การควบคุมโรคที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ ภายใต้แผนสุขภาพภาพรวม • มีแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ที่ได้กำหนดไว้โดยตั้งเป้าหมายตามที่วิเคราะห์ไว้ทั้งสองด้านคือ ในชุมชน/กลุ่มประชากรเฉพาะ, ในบุคคลและกลุ่มบุคคลในการเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมในทุกระยะของทางคลินิก
มาตรการเฉพาะในชุมชนและพื้นที่ดำเนินการ (setting) • ประเมินสถานการณ์ชุมชนและ Settings ที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคและความรุนแรงของโรค และสถานบริการที่สนับสนุน • บริการสื่อสารเตือนภัยสร้างความตระหนัก • สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ วิเคราะห์หาเหตุและจัดการปัญหา และจัดทำนโยบายและแผนในชุมชนหรือSettingsโดยชุมชน • ติดตามบริการสนับสนุนข้อมูลและกระบวนการปกป้อง ป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพ ตลอดจนบูรณาการการบริการการป้องกันควบคุมรายบุคคล • สร้างระบบประเมินและสนับสนุนคุณภาพต่อเนื่อง
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ภายใต้ DHS DHS
ก้าวต่อไปของ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ด้าน สื่อสาร ประชา สัมพันธ์ ทิศทางทางการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนปี 2557 ปรับปรุงจากแผนแม่บท DCCD 27 มิ.ย.56 ด้านนโยบาย ปี 57 ปี 58-60 ปี 56 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ”จังหวัด”และ “กสธ.” “กรม/หน่วยงาน” และ “อปท.” 2. ขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย: แผนแม่บทสนับสนุนการพัฒนาอำเภอฯ (ปี 56-60) 3. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. *ขยายความร่วมมือเครือข่ายเพื่อสร้างระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค ครบวงจร พัฒนา/ผลักดันตัวชี้วัดคำรับรองฯให้เป็น คำรับรองของจังหวัด กระทรวงสาธารณสุข กรมฯ อปท. และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง พัฒนา/ผลักดันตัวชี้วัดคำรับรองฯให้เป็น คำรับรองของจังหวัด กระทรวงสาธารณสุข กรมฯ อปท. และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ขยายความร่วมมือทางด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ หน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง พัฒนาหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนาม เครือข่าย SRRT ตำบล/ e-learning ปรับปรุงเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะฯ ปี 56/ ระบบประเมินตนเองอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาชุดวิชาป้องกันควบคุมโรคระดับพื้นที่ ประกอบหลักสูตรการอบรมของเครือข่าย เช่น นักปกครอง อปท. ฯลฯ 4. *พัฒนารูปแบบระบบการประเมินรับรอง (PH accreditation) 1. พัฒนาหลักสูตร/ชุดวิชาการป้องกันควบคุมโรค 1.1 พัฒนาหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนาม เครือข่าย SRRT ตำบล/e-learning 1.2 จัดทำชุดวิชาการป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับพื้นที่ 2. พัฒนาศักยภาพแกนนำและเครือข่าย 2.1 เครือข่าย สธ./ มท / อปท. / สื่อมวลชนเพื่อขับเคลื่อน/ปรับปรุงงาน (ผชชว./สสจ./กลุ่ม คร.) 3. พัฒนารูปแบบระบบการประเมินคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคของพื้นที่ (แบบสมัครใจ) 1พัฒนาระบบมาตรฐานการเป็นผู้ให้คำรับรอง (Professional standard for district DPC) ด้าน วิชาการ สัมมนา 4 ภาค เครือข่ายมหาดไทย/ อปท. สัมมนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อน/ปรับปรุงงาน สธ. (ผชชว./สสจ/กลุ่ม คร./กลุ่ม พนย.) /สื่อมวลชน จัดทำสื่อต้นแบบ/สร้างภาพลักษณ์/พัฒนาช่องทางสื่อสาร เช่นสื่อพื้นบ้าน สื่ออิเลคทรอนิคส์ 1. จัดทำสื่อต้นแบบ/สร้างภาพลักษณ์/พัฒนาช่องทางสื่อสาร เช่น สื่อพื้นบ้าน สื่ออิเลคทรอนิคส์ และอื่นๆ 2. จัดพื้นที่/เวทีให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทแสดงความคิดเห็น 3. สนับสนุนสื่อ คู่มือ สำหรับเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ 1. สร้างภาพลักษณ์ รณรงค์ ให้เกิดแนวร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงาน 2.พัฒนารูปแบบวิธีการสื่อสารให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายของการพัฒนาเครือข่าย
การประชุมคณะกรรมการบริหารนโยบายระบบบริการสุขภาพ ครั้งที่๔ วันที่๒๔ มกราคม ๒๕๕๔วาระ๔.๓แผนพัฒนาด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๗ นพ สราวุฒิ บุญสุข หัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก กรมอนามัย
แผนการดูแลสุขภาพกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยแผนการดูแลสุขภาพกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย บูรณาการกองทุนตำบล Service Setting วิธีการดำเนินงาน อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ฝากท้องไว คลอดปลอดภัย เด็กเติบโตพัฒนาการสมวัย Outcome Indicator Risk Management หญิงตั้งครรภ์ เด็กปฐมวัย 1. ภาวะทารกแรกเกิดขาด ออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกิน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ 2. เด็กปฐมวัย(3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 57 3.เด็กอายุ 0-5 ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยเกินร้อยละ 70 Impact Process Indicator - คัดกรองความเสี่ยง ,แก้ไขความเสี่ยงโดยเร็ว - โครงการคัดกรองดาวซิโดม - ANC&LR มีคุณภาพ -SRR MCHT 1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 60 2. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 3. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 4. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ไม่น้อยกว่า 60 5. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน เท่ากับ 100 6. ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 65 7. เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนได้รับการคัดกรองพัฒนาการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ - ฝากท้องทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ์
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มเด็กวัยเรียนแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มเด็กวัยเรียน เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญา(IQ&EQ)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 - ตำบล IQ ดี EQ เด่น - ชุมชน /หมู่บ้านไอโอดิน วิธีการดำเนินงาน Service Setting • โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ • - พัฒนา IQ&EQ >> LD,ADHD • - ทักษะชีวิต • - การคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน • ทำแผนบูรณาการเชื่อมโยงการกระทรวงศึกษาธิการในการดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเรียน Outcome Indicator 1. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและ รูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า 70 2. ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะอ้วน ไม่เกิน 15 3. นักเรียนได้รับบริการตรวจวัดสายตาและการตรวจการได้ยิน ร้อยละ 70 4. อัตราการเสียชีวิตจาการจมน้ำ อายุ 0-15ปี(ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน ภายใน 5 ปี (2560) • ธาตุเหล็ก (Weekly dose of iron supplementation) • การเจริญเติบโต รูปร่าง/ส่วนสูง • สุขภาพช่องปาก • - วัคซีน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ Impact Process Indicator 1. ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวานและ ขนมกรุบกรอบ) ไม่น้อยกว่า 75 2. ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปากไม่น้อย กว่า 85 และเคลือบหลุมร่องฟันไม่น้อยกว่า 30 3. ร้อยละ 95 ของนักเรียน ป.1 ได้รับวัคซีน MMR (หัด คางทูม หัดเยอรมัน)และ ป.6 ได้รับวัดซีนdT(คอตีบ บาดทะยัก) รายโรงเรียน
แผนงานพัฒนาสุขภาพวัยรุ่น อย่างมีคุณภาพ อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน วิธีการดำเนินงาน Service Setting อำเภออนามัยเจริญพันธุ • วัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ • การเข้าถึงกลุ่มเสี่ยง • -มีระบบส่งต่อเพื่อดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงระหว่างสถานบริการสาธารณสุขและสถานศึกษา • IT Health/Social Media • /Face book • HL/HBSS Outcome Indicator • ร้อยละผู้สูบบุหรี่ในวัยรุ่น ไม่เกิน 10 • ร้อยละการตั้งครรภ์ช้ำในวัยรุ่น 15-19 ปี ร้อยละ 10 • ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19 ปี (ไม่เกินร้อยละ 13) Impact • คลินิกวัยรุ่น • ทักษะชีวิต • Teen Manager ระดับจังหวัด • การเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง • เพศสัมพันธ์ • -บุหรี่ แอลกอฮอล์ • ยาเสพติด/ เกมส์ • พฤติกรรม อารมณ์ • Online Training • การคุมกำเนิดในกลุ่มเสี่ยง Process Indicator 1. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนใน โรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่น ฯลฯ ไม่น้อยกว่า 70 2. ร้อยละ 20 ของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/อาชีวศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ จัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชน
แผนงานการป้อนกันกลุ่มวัยทำงานแผนงานการป้อนกันกลุ่มวัยทำงาน วิธีการดำเนินงาน Service Setting สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข • การเสียชีวิตต่อโรคหัวใจไม่เกิน 23 ต่อประชากรแสนคน • อัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน • เพิ่มคุณภาพสุขภาพและความปลอดภัยของประชากรวัยทำงานในสถานศึกษา, ภาคเกษตรกรรม(วิสาหกิจชุมชน), สถานประกอบการภาคการผลิต/อุตสาหกรรม, ภาคการบริการและการค้า, สถานที่ทำงานเฉพาะเสี่ยงสูงมากต่อโรคและภัย Outcome Indicator • ร้อยละของวัยทำงานกลุ่มเฉพาะได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคทางคลินิก(คัดกรองมะเล็งปากมดลูก ในหญิงอายุ 30-60 ปีร้อยละ 80) • คลีนิสุขภาพเกษตรกร(รพ.สต. ร้อยละ 10) • ร้อยละของผู้ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ 60 Impact • - CD Risk Assessment • คัดกรอง CA, Cx • คลินิก NCD คุณภาพ • CKD คลินิก • คลินิก DPAC • Healthy Work Place Process Indicator • ร้อยละคลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 70
แผนงานพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแผนงานพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี อำเภอ/ตำบล 80 ปียังแจ๋ว วิธีการดำเนินงาน Service Setting • คัดกรอง Geriatric Syndrome • ภาวะหกล้ม • สมรรถภาพสมอง (MMSE) • การกลั้นปัสสาวะ • การนอนไม่หลับ • ภาวะซึมเศร้า • ข้อเข่าเสื่อม • ประเมิน ADL • คัดกรองโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ • เบาหนาว 2. ความดันโลหิต • 3. ฟัน 4. สายตา Outcome Indicator 1. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ไม่น้อยกว่า 170 ต่อ ประชาการแสนคน ภายใน 5 ปี 2. คนพิการทางการเครื่องไหว(ขาขาด)ได้รับบริการครบถ้วน ร้อยละ 100 ภายใน 3 ปี Impact Process Indicator • - คัดกรองปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกาย/จิตใจ • วิเคราะห์จำแนก เพื่อดูแลรักษา/ ส่งต่อ • พัฒนระบบ/ ฐานข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ • การดูแลตัวเองและสนับสนุนกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คลินิกบริการผู้สูงอายุ • ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 • ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 60 • ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ร้อยละ 80 • ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 - ประเมินเพื่อการดูแลระยะยาวตามสุขภาพและร่วมมือกับท้องถิ่นเพื่อดูแลสังคม - พัฒนาส้วมนั่งราบสำหรับผู้สูงอายุ
เป้าหมาย : ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (กลุ่มวัยทำงาน)
เปรียบเทียบสถานการณ์และเป้าหมายของประเทศเปรียบเทียบสถานการณ์และเป้าหมายของประเทศ เป้าหมาย UN/ปฏิญญามอสโก: ลดอัตราการเสียชีวิตลง 50% (ปี 2554-63) 26,312 (38.07) 22,525 (35.36) 21,144 (32.79) 13,156 (19.05) 11,712 (17.98) 14,033 (21.96) 7,297 (11.20) (ลดประมาณ 7% ของปี 54)
ภาพรวมการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนของประเทศ 2554-63 ลดอัตราการเสียชีวิตลง 50% ในปี 2554-63 รัฐบาล แผนแม่บท (วาระแห่งชาติ) แผนทศวรรษ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ) ภาคเอกชน /เครือข่าย สสส. ศวปถ. ฯลฯ MIS พัฒนาระบบข้อมูล (อนุกรรมการคณะที่ 6) กรม คร. ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน จังหวัด (หน่วยราชการ /องค์กรส่วนท้องถิ่น/ เอกชน/ ประชาชน)
หลักการดำเนินงานอุบัติเหตุทางถนน • ข้อมูล • ข้อมูลภาพรวมระบบเฝ้าระวัง • -ข้อมูลสอบสวนเชิงลึก • เหตุการณ์สำคัญตามเกณฑ์ • ระบุปัจจัยเสี่ยง/จุดเสี่ยง • หมวก/เมา/เร็ว/เข็มขัด ฯลฯ • ทางแยก/ทางร่วม ฯลฯ • ประเมินผล • อัตราตาย • อุบัติเหตุทางถนน • การบาดเจ็บสมอง • Multiple Injury • สัดส่วนการสวมหมวกนิรภัย • สัดส่วนการบาดเจ็บกับเมาสุรา • จำนวนการสอบสวนเหตุการณ์ • เลือกมาตรการแก้ปัญหา • โดยสหสาขา • บังคับใช้กฏหมาย/ • มาตรการชุมชน/องค์กร • แก้ไขจุดเสี่ยง • พัฒนาบริการการรักษา ER/EMS
มาตรการการสำคัญเพื่อลดการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน และหน่วยงานร่วมรับผิดชอบส่วนกลาง • พัฒนาข้อมูล • ข้อมูลภาพรวมระบบเฝ้าระวัง • -ข้อมูลสอบสวนเชิงลึก กรมควบคุมโรค + สนย. • การบังคับใช้กฎหมาย • หมวกนิรภัย -เข็มขัดนิรภัย • เมาแล้วขับ -ขับรถเร็ว กรมควบคุมโรค + สตช. DHS สหสาขา/ชุมชน • พัฒนาการดูแลรักษา • EMS • ER สธฉ. + สพฉ. :EMS สบรส. : ER • มาตรการชุมชน/องค์กร • ชุมชน/องค์กรต้นแบบ • ด้านต่างๆ กรมควบคุมโรค