270 likes | 614 Views
http:// production.doae.go.th. การบันทึกข้อมูล. การบันทึกข้อมูลลงในระบบโปรแกรมรายงานภาวะการผลิตพืชนั้นเป็นหน้าที่ของ สำนักงานเกษตรอำเภอ ซึ่งการบันทึกข้อมูลลงในระบบมีขั้นตอน ดังนี้ ( http://production.doae.go.th)
E N D
การบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลลงในระบบโปรแกรมรายงานภาวะการผลิตพืชนั้นเป็นหน้าที่ของสำนักงานเกษตรอำเภอ ซึ่งการบันทึกข้อมูลลงในระบบมีขั้นตอน ดังนี้ (http://production.doae.go.th) ขั้นตอนที่ 1Login เข้าระบบ ตามชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของอำเภอ และเลือกปีที่บันทึกข้อมูล คลิกปุ่ม เข้าสู่ระบบ
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 เข้าเมนูกรอบบัญชีรายชื่อพืช เลือกจัดการพืชบังคับ/พืชทางเลือก
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) เข้าเมนูกรอบบัญชีรายชื่อพืช เลือกจัดการพืชบังคับ/พืชทางเลือก (พืชบังคับเลือกเฉพาะพืชที่มีปลูกในอำเภอ พืชทางเลือก เลือกจัดเก็บได้ตามความต้องการของพื้นที่) -> เพิ่มข้อมูลพืชบังคับ หรือพืชทางเลือก
รต.01 , รต.02 เช่น ข้าว, พืชไร่, พืชผัก เป็นต้น เช่น ข้าวนาปี, กก, ต้นหอม เช่น ข้าวชัยนาท 1, มันสำปะหลัง KU กก., ต้น, ใบ, ตร.ม., ดอก
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) แสดงผลจากการเลือกกรอบบัญชีพืชบังคับ และพืชทางเลือก
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 3 การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ หลังจากเลือกพืชที่มีปลูกในอำเภอเรียบร้อยแล้ว -> เลือกบันทึกข้อมูล -> เลือกบันทึก รต.01 หรือ รต.02
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) เลือกเดือนบันทึกข้อมูล (คลิ๊กเลือกแสดงข้อมูล)
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) เลือกพืชที่มีปลูกจริงในเดือนที่จะบันทึกข้อมูล (ระบบจะให้เลือกจากกรอบพืชใน ขั้นตอนที่ 2) เลือกพืชประจำเดือน –> (คลิ๊กเลือกในช่องสี่เหลี่ยม) -> บันทึกข้อมูล
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) แสดงผลจากการเลือก และทำการบันทึกข้อมูลต่อไป ส่งออกเป็น Excel คลิกปุ่มเพิ่มข้อมูล เลือกเพื่อบันทึกข้อมูลตามชนิดพืช และตำบล
รต.01 การบันทึกข้อมูล(ต่อ) การกรอกข้อมูลในเดือนที่เลือก - ระบบจะดึงข้อมูลของเดือนที่ผ่านมาแสดง เพื่อช่วยในการตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล - ระบบจะทำการตรวจสอบความแนบนัยของข้อมูล เช่น หากมีการระบุเนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต จะต้องกรอกผลผลิตรวมที่เก็บเกี่ยวได้ และกรอกข้อมูลราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยด้วย - กรณีลบข้อมูลพืช รต.01 เนื้อที่ยืนต้น ณ วันสิ้นเดือน เท่ากับ 0 - เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จสิ้น -> กดปุ่มบันทึกข้อมูล
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) การกรอกข้อมูลในเดือนที่เลือก - ระบบจะดึงข้อมูลของเดือนที่ผ่านมาแสดง เพื่อช่วยในการตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล - ระบบจะทำการตรวจสอบความแนบนัยของข้อมูล - กรณีลบข้อมูลพืช รต.02 เนื้อที่ปลูกทั้งหมด เท่ากับ 0 - เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จสิ้น -> กดปุ่มบันทึกข้อมูล - กรณีพืชที่ให้ผลแล้ว แต่ยังคงยืนต้นต่อไป ระบบจะยกเนื้อที่ที่เคยให้ผลแล้วมารอ จากนั้นกดปุ่มบันทึกข้อมูล รต.02
ถ้าไม่อยากจำว่าสัญลักษณ์แต่ละตัวคืออะไร เข้าระบบเอาเมาส์ชี้จะมีคำอธิบายขึ้น ให้จ้า… การบันทึกข้อมูล(ต่อ) หมายเหตุ: เครื่องหมายต่าง ๆ ในระบบบันทึกข้อมูลมีความหมาย ดังนี้ ยังไม่มีการบันทึกข้อมูล แสดงข้อมูล บันทึกแล้วรอการจัดส่งให้จังหวัดอนุมัติ (แก้ไขข้อมูลได้) รอการอนุมัติจากจังหวัด (ส่งแล้ว - แก้ไขข้อมูลไม่ได้) อนุมัติข้อมูลเรียบร้อยแล้ว (จังหวัดอนุมัติข้อมูล) ไม่อนุมัติข้อมูล (อำเภอกลับไปแก้ไขแล้วส่งใหม่) แก้ไขข้อมูล (กรณียังไม่ส่งข้อมูล/จังหวัดไม่อนุมัติให้กลับมาแก้ไข) ลบข้อมูล รต.01 เนื้อที่ยืนต้น ณ วันสิ้นเดือน เท่ากับ 0 และ รต.02 เนื้อที่ปลูกทั้งหมดเท่ากับ 0
-1- เลือกเมนูตรวจสอบการบันทึกข้อมูล -2- คลิ๊กปุ่มแสดง -3- ผลลัพธ์ การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งให้จังหวัดอนุมัติ เป็นการตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลก่อนส่ง
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 5 การส่งข้อมูลไปอนุมัติ เมื่อตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้อำเภอไปที่เมนู ส่งข้อมูลไปอนุมัติ -> เลือกปี เดือน -> และกดหน้าถัดไป -1- เลือกเมนูส่งข้อมูลไปอนุมัติ -2- เลือกปี และเดือน
การบันทึกข้อมูล(ต่อ) แสดงผลการบันทึกข้อมูล (ครบ/ไม่ครบ) กรณีบันทึกไม่ครบถ้วน ระบบจะไม่ยอมให้ส่งข้อมูลไปอนุมัติ (อำเภอต้องบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน) กรณีบันทึกครบถ้วน -> คลิกส่งข้อมูลไปอนุมัติ
การอนุมัติข้อมูล การอนุมัติข้อมูลเป็นกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่อำเภอบันทึก เข้ามาในระบบ ซึ่งเป็นหน้าที่สำนักงานเกษตรจังหวัดต้องตรวจสอบ ความถูกต้อง ครบถ้วน แนบนัยของข้อมูล และอนุมัติเพื่อให้ข้อมูลดังกล่าวถูกส่งต่อมายังกรมฯ กระบวนการอนุมัติข้อมูลมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 Login เข้าระบบ ตามชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของจังหวัด และเลือกปีที่รายงานข้อมูล (http://production.doae.go.th) ถ้าลืมรหัสผ่าน ก็เข้าระบบไม่ได้ เมื่อเข้าระบบไม่ได้ก็ไปตรวจสอบอนุมัติข้อมูลไม่ได้ ฉะนั้นติดต่อศูนย์สารสนเทศ ขอทราบรหัสผ่านด่วน! นะครับ
การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 เลือกเมนูอนุมัติข้อมูล -> เลือกกลุ่มพืช รต.01/รต.02 -> เลือกปี เดือน และอำเภอ ที่ต้องการตรวจสอบและอนุมัติข้อมูล -> กดปุ่มแสดงข้อมูล คลิ๊กปุ่มแสดงข้อมูล
การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) แสดงผลจากการเลือกอนุมัติข้อมูล
การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) จังหวัดต้องตรวจสอบข้อมูลระดับอำเภอ รายละเอียดตำบล ทุกพืชที่อำเภอบันทึก หากเห็นชอบ เลือกคลิกช่องผ่านหากพบข้อมูลผิดพลาด เลือกคลิกช่องกลับไปแก้ไข หมายเหตุ : อำเภอจะต้องตรวจสอบการอนุมัติข้อมูลของจังหวัดและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องในพืชที่จังหวัดไม่อนุมัติและจัดส่งให้จังหวัดอนุมัติใหม่อีกครั้ง
การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) จังหวัดเมื่อตรวจสอบข้อมูลระดับอำเภอคลิ๊กช่องผ่าน หรือ ช่องกลับไปแก้ไขเรียบร้อย ให้ทำการคลิ๊กปุ่ม -> บันทึกผลการตรวจสอบ จากนั้นให้รอระบบประมวลผลข้อมูลการอนุมัติเสร็จก่อน ในกรณีที่ข้อมูลของอำเภอถูกต้องทุกรายการจะปรากฏปุ่มบันทึกข้อมูลเดือนถัดไป
การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) ให้จังหวัดกดปุ่มดังกล่าว เพื่อให้อำเภอบันทึกข้อมูลเดือนต่อไป หากไม่กดปุ่มบันทึกข้อมูลเดือนต่อไปได้อำเภอจะไม่สามารถบันทึกเดือนต่อไปได้ (ปุ่มดังกล่าวจะปรากฏในกรณีที่ข้อมูลทุกรายการของอำเภอผ่านความเห็นชอบเท่านั้น) อย่าลืมกดคลิ๊ก ปุ่มบันทึกข้อมูลเดือนต่อไปได้น้องๆๆ ที่อำเภอ บันทึกเดือนต่อไปไม่ได้นะจ๊ะ…..
แผนการดำเนินงาน 1. การรายงานข้อมูลภาวะการผลิตพืช (เกษตรตำบล) - ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป 2. การบันทึกข้อมูลส่งจังหวัด (เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลอำเภอ) - ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป 3. ตรวจสอบ กลั่นกรองข้อมูลส่งกรมส่งเสริมการเกษตร (ฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ สำนักงานเกษตรจังหวัด) - ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป 4.ศูนย์สารสนเทศ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพร้อมเผยแพร่ - ภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป
เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานส่วนกลางเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานส่วนกลาง นางออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผู้อำนวยการกลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล โทร 0-2940-5721 นายพรชัย ทุราช นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ โทร 08-2656-8584 นายวิเชียร สุดสม นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ โทร 08-9442-6212 นางมณฑาทิพย์ ชีไธสง นักสถิติ โทร 08-6886-3539 นางสาวพวงทิพย์ บุญช่วย นักสิถิติ โทร 08-9996-3137