2.18k likes | 3.88k Views
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี. วิษณุ วิทยวราวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มมาตรฐานการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่. วัตถุประสงค์ในการบริหารงานบุคคล. สรรหาคนดีมาทำงาน ใช้ประโยชน์สูงสุด รักษาคนดีให้อยู่ในองค์กร
E N D
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี วิษณุ วิทยวราวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มมาตรฐานการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่
วัตถุประสงค์ในการบริหารงานบุคคลวัตถุประสงค์ในการบริหารงานบุคคล • สรรหาคนดีมาทำงาน • ใช้ประโยชน์สูงสุด • รักษาคนดีให้อยู่ในองค์กร • พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพ
หลักการและเหตุผลของการจัดทำแผนหลักการและเหตุผลของการจัดทำแผน • ก.กลาง (ก.จ. ก.ท. และก.อบต.) ประกาศมาตรฐานทั่วไป เกี่ยวกับอัตราตำแหน่งและมาตรฐานของตำแหน่ง เพื่อให้ ก.จังหวัด (ก.จ.จ. ก.ท.จ.และ ก.อบต.จังหวัด) กำหนดตำแหน่งข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่นว่าจะมีตำแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด ให้คำนึงถึงภารกิจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฎิบัติ ความยากและคุณภาพงาน ตลอดจนภารค่าใช้จ่าย ที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคล ทั้งนี้ ตามที่ ก.กลาง กำหนด • ก.กลาง กำหนดให้ อปท. จัดทำแผนอัตรากำลัง ของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นกรอบในการกำหนดตำแหน่ง และการใช้ตำแหน่ง และเสนอ ให้ ก.จังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบ
ขั้นตอนการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี อปท. • เมื่อครบรอบระยะเวลาการใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี แล้วให้ อปท.ดำเนินการจัดทำแผนอัตรากำลังของ อปท.เป็น ระยะเวลา 3 ปี ในรอบถัดไป แต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วย นายก เป็นประธาน ปลัด และหน.ส่วนราชการ เป็นกรรมการและมีเลขานุการ 1 คน จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ก.กลาง ยืนยัน ไม่เห็นชอบ ก.จังหวัด ปรับปรุงแผน ก.จังหวัด เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ประกาศใช้
ขั้นตอนการทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี • คะแนนในมติที่ 4 ข้อ 4.1 (3) ได้คะแนน 2 คะแนน • คะแนนด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา ข้อ 1.1 การประกาศใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี ประกาศภานในวันที่ 1 ตุลาคมและในปีงบประมาณที่ผ่านมา ไม่มีการขอปรับปรุงแผนอัตรากำลัง ได้ 5 คะแนน
การจัดทำแผนอัตรากำลังการจัดทำแผนอัตรากำลัง • 1. วิเคราะห์ภารกิจ ในช่วง 3 ปี • 2. วิเคราะห์ความต้องการกำลังคน • 3. ประเมินกำลังคนที่มีอยู่ • 4. วิเคราะห์แผนพัฒนากำลังคน • 5. จัดโครงสร้างส่วนราชการ 5.1 แบ่งส่วนราชการตามประกาศกำหนดส่วนราชการ 5.2 กำหนดตำแหน่ง สายงานประจำส่วนราชการ /จำนวนต้องให้ ก.จังหวัดเห็นชอบ 5.3 เป็นสายงาน ที่มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 5.4 กำหนดแผนในระยะ 3 ปี โดยแสดงกรอบทั้งหมด และกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่ เป็นรอบปีที่ 1 ปี 2 ปี 3
เหตุที่ต้องจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี • เพื่อวางแผนด้านกำลังคนขององค์กร • เพื่อสรรหาคนและใช้คนให้เกิดประโยชน์สูงสุด • เพื่อกำหนดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรที่เหมาะสม • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร
วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ให้มีโครงสร้างการบริหารและระบบงานที่เหมาะสมไม่ซ้ำซ้อน ให้มีการกำหนดตำแหน่ง และจัดอัตรากำลังให้ เหมาะสมกับอำนาจหน้าที่ของ อปท. และกฎหมาย ให้สามารถตรวจสอบการกำหนดตำแหน่งและการใช้ ตำแหน่งว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมหรือไม่ เป็นแนวทางในการวางแผนการใช้อัตรากำลัง การพัฒนาบุคลากรของ อปท. ให้เหมาะสม
ขอบเขตและแนวทางในการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี โดยมีขอบเขตเนื้อหา ครอบคลุมในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ • บทวิเคราะห์ภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อปท. • การกำหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ • ตามภารกิจ หน้าที่ ในด้านต่างๆ คกก./คณะทำงาน • บทวิเคราะห์ เพื่อกำหนดตำแหน่งที่ต้องการในสายงาน • ต่าง ๆ จำนวนตำแหน่งและระดับตำแหน่ง ให้ตรงตามภารกิจ • บทวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ • ตอบแทนอื่น เพื่อไม่ให้เกินร้อยละ 40 ตามมาตรา ๓๕ • การจัดคนลงกรอบโครงสร้างอัตรากำลังให้เหมาะสม • การพัฒนาบุคลากร
ต้องวิเคราะห์สภาพปัญหาใน อปท. และความต้องการของประชาชนใน อปท. โดยอาจพิจารณาเป็นด้าน ๆ ไป เพื่ออะไร? • เพื่อสามารถกำหนดภารกิจในการแก้ไขปัญหา • และความต้องการของประชาชนใน อปท.ได้ตรง • กับความต้องการ คกก./คณะทำงาน • เพื่อให้ทราบว่าภารกิจในแต่ละด้านต้องการ จำนวนบุคลากรประเภทใด จำนวนเท่าใด ระดับใด ในการดำเนินงานตามภารกิจ นั้น
ภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อปท. เช่น พ.ร.บ. อบจ. พ.ศ.2540 พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 พ.ร.บ.สภาตำบลฯ พ.ศ.2537 วิเคราะห์ภารกิจ ตามที่กฎหมายกำหนด โดยคำนึงถึงความต้องการของประชาชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาอำเภอและจังหวัดนโยบาย ของรัฐบาลและผู้บริหารท้องถิ่น คกก./คณะทำงาน พิจารณาเป็นรายด้าน วิเคราะห์ภารกิจ ตามสภาพแวดล้อมองค์กร
สภาพแวดล้อมภายในองค์กรสภาพแวดล้อมภายในองค์กร • ศักยภาพในการแก้ปัญหาของ อปท. • ฐานะการคลัง - รายได้ • ด้านบุคลากร • ด้านการบริหารงานทั่วไป
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร • ด้านเศรษฐกิจ - ความยากจน • อาชีพ • ด้านการเมือง - นโยบายรัฐบาล • ด้านสังคม - ปัญหาสังคม ชุมชน
ภารกิจหลักและภารกิจรองที่ อปท.จะต้องดำเนินการ ภารกิจหลัก คกก./คณะทำงาน นำภารกิจที่วิเคราะห์ กำหนดเป็น ภารกิจรอง
สรุปปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลังสรุปปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลัง คกก./คณะทำงาน สรุปปัญหา สรุปแนวทางแก้ไขปัญหา
โครงสร้างการกำหนดส่วนราชการโครงสร้างการกำหนดส่วนราชการ คกก./คณะทำงาน นำภารกิจที่ได้จากการวิเคราะห์ มากำหนดส่วนราชการ มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดตำแหน่ง ในส่วนราชการต่างๆ • ตามที่ ก.กลางกำหนด • ตำแหน่งใด ระดับใด จำนวน เท่าใด จัดทำเป็นกรอบอัตรากำลัง 3ปี
เค้าโครงแผนอัตรากำลัง 3 ปี ประกอบด้วย • หลักการและเหตุผล • วัตถุประสงค์ • ขอบเขตและแนวทางในการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี • สภาพปัญหา ความต้องการของประชาชนในเขต อปท. • ภารกิจหลัก และภารกิจรอง • สรุปปัญหาและแนวทางในการบริหารงานบุคคล • โครงสร้างการกำหนดตำแหน่ง
ภารค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน และประโยชน์ตอบแทนอื่น • แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตรากำลัง 3 ปี • แนวทางการพัฒนาข้าราชการ /พนักงาน และลูกจ้าง • ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการ/พนักงานและลูกจ้าง
การกำหนดตำแหน่ง • ตำแหน่งที่ ก.กลางยังไม่ได้กำหนด (ก.กลาง) • ตำแหน่งที่ ก.กลางกำหนดแล้ว (ก.จังหวัด) • ตำแหน่งที่ขอกำหนดใหม่เทื่อจัดตั้งส่วนราชการใหม่(ก.กลาง)
ก.กลาง กำหนดตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป 2. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ (ระดับ 7 ขึ้นไป) 3. ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงและระดับกลาง (ระดับ 6 ขึ้นไป) กำหนดสายงานข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ดังนี้ 1. อบจ. กำหนดสายงานข้าราชการ อบจ. 100 สายงาน 2. เทศบาล กำหนดสายงานพนักงานเทศบาล 123 สายงาน 3. อบต. กำหนดสายงานพนักงานส่วนตำบล 81 สายงาน
1. โครงสร้างส่วนราชการ (กำหนดให้สอดคล้องกับภารกิจ)
2. การวิเคราะห์เพื่อกำหนดตำแหน่งให้สอดคล้องกับภารกิจ
กรอบอัตรากำลัง 3 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2555 – 2557
ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ ปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล 8) เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน รองปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล 7) ผู้อำนวยการกองช่าง (นักบริหารงานช่าง 7) หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาล (นักบริหารงานทั่วไป 7) ผู้อำนวยการกองคลัง (นักบริหารงานคลัง 7)
3.การวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น3.การวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น
หมายเหตุ (1) รายจ่ายจริง (2) คิดจาก (เงินเดือนขั้นต่ำ+ขั้นสูงของระดับตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นหารด้วย 2 คูณด้วย 12+ ขั้นเงินเดือนคนเดิมที่เพิ่มขึ้น (3) คือภาระค่าใช้จ่ายปีที่ผ่านมา + (2) (4) คือค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด (5) คิดจากค่าจ้างพนักงานจ้างตามแผนอัตรากำลัง 4 ปี (6) คิดจาก (4) คูณด้วย 20 % (7) คิดจาก (4)+(5)+(6) หารด้วยจำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีนั้นคูณด้วย 100
1 - 1 1 - 1 1 1 - - - - 1 2 3,840 - 93,600 - เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ - - 5 180,000 1 1 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน -1 - 1 4 134,400 - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน - - 2-4/5 - 174,900 - 1 - - เจ้าหน้าพนักงานการเงิน (ว่างใหม่) 105,720 - - 143,820 148,920 174,900 181,320 101,400 97,440 - 93,600 143,820 154,020 - 143,820 148,920 194,880 202,560 - 140,400 97,440 146,640 166,920 175,920 185,160 157,920 - - 6,420 4,320 3,960 1 5,100 2 1-3/4 1 3,840 1-3/4 - 6 1 - 9,000 7,680 -1 5,100 5,100 9,240 9,000 นักบริหารงานการคลัง เจ้าหน้าที่พัสดุ (ว่างเดิม) เจ้าหน้าที่การเงินการบัญชี - 143,820 เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี (ว่างใหม่) 7,320 7,560 187,320 - 6,000 6,240 ซี 1-3/4 4,870+19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) ซี 2-4/5 5,810+23,340 x 12 / 2 ( 174,900 ) ซี 3-5/6ว. 7,140+28,880 x 12 / 2 ( 216,120 ) ซี 7 35,220 + 16,190 x 12 / 2 ( 308,460 ) ซี 8 49,830 + 19,860 x 12 / 2 ( 418,140)
นักบริหารงานคลัง 6 ขั้น 13,160 บาท x 12 = 157,920 บาท ขั้นวิ่ง คิดทั้งปี 1 ขั้น = 13,910 – 13,160 = 750 x 12 = 9,000 บาท นำเงิน 9,000 + 157,920 = 166,920 บาท ปีต่อไปนำ (14,660 - 13910 = 750 x 12 =9,000 )+166,920 = 175,920 บาท ปีต่อไปนำ (15,430 – 14,660 =770 x 12 = 9,240) นำขั้น 9,240 + 175,920 = 185,160 บาท
เจ้าหน้าที่พัสดุ 1-3/4 (ว่างเดิม) ซี 1-3/4 4,870 + 19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) (ขั้นต่ำ ซี 1 + ขั้นสูง ซี 4) X 12 หาร 2 การคำนวณกรณีตำแหน่งว่าง (สูงกว่าขั้นต่ำ ซี 1 (1 ขั้น ) – ขั้นต่ำ ซี 1 ) + (ขั้นสูง ซี 4 – ต่ำกว่าขั้นสูง ซี 4 ( 1 ขั้น ) x 12 หาร 2 ลข .ซี 1 ( 5,100 – 4,870 ) + ซี 4 (19,100 – 18,480) x 12 / 2 (5,100)
เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 2 ขั้น 7,800 บาท x 12 = 93,600 บาท ขั้นวิ่ง คิดทั้งปี 1 ขั้น = 8,120 – 7,800 = 320 x 12 = 3,840 บาท นำเงิน 3,840 + 93,600 = 97,440 บาท ปีต่อไปนำ (8,450 – 8,120 = 330 x 12 = 3,960) = 3,960 บาท นำขั้น 3,960 + 97,440 = 101,400 บาท ปีต่อไปนำ (8,800 – 8,450 =350 x 12 = 4,320 = 4,320 บาท นำขั้น 4,320 + 101,400 = 105,720 บาท
การวิเคราะห์เงิน 40% ( 1 ) + ( 2) + (3) x 20 % = ( 4) เงินประโยชน์ตอบแทนอื่น ( 1 ) + ( 2) + (3) + (4) = ( 5 ) รวมรายจ่าย ( 5 ) x 100 หาร ( 6) = ( 7) ร้อยละของงบประมาณรายจ่าย ต้องไม่เกิน 40 %
การคำนวณ 40 % ตามมาตรา 35 ของ พ.ร.บ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 งบประมาณรายจ่ายประจำปี คืองบประมาณรายจ่ายที่ตั้งเป็นข้อบัญญัติงบประมาณ ซึ่งรวมเงินอุดหนุนทั่วไปด้วย • เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เงินกู้ ไม่สามารถนำมาตั้งจ่ายเป็นงบประมาณ • หมวดเงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์ตอบแทนอื่นได้ยกเว้นเงินอุดหนุนที่ รัฐจัดสรร เป็นเงินเดือนและสวัสดิการสำหรับพนักงานครูเทศบาล และ การถ่ายโอนตามกฎหมาย แผนกระจายอำนาจ
ประโยชน์ตอบแทนอื่นของข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่นประโยชน์ตอบแทนอื่นของข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น • มี 18 รายการ ตามประกาศ ก.ถ. ลงวันที่ 26ก.ค.2544 ได้แก่ ช่วยเหลือบุตร/การศึกษาบุตร /รักษาพยาบาล /ค่าเช่าบ้าน / บำเหน็จลูกจ้างประจำ /เงินสมทบกองทุนประกันสังคม /เงินสมทบกองทุนบำเหน็จข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น / ฯลฯ • ประโยชน์ตอบแทนอื่น ตามที่ ก.กลางกำหนด (โบนัสประจำปี) • สวัสดิการสำหรับสำนักงานในพื้นที่พิเศษ เป็นต้น
การคำนวณ 40 % อปท. ประมาณการรายรับไว้ 10,000,000 บาท (รายได้ 7ล้าน+อุดหนุน 3ล้าน) ม. 35 แห่ง พรบ.บริหารงานบุคคลฯ พ.ศ. 2542 กำหนดให้การจ่ายเงินเดือน ค่าจ้างประโยชน์ตอบแทนอื่นฯไม่เกิน 40% ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยจ่ายจากเงินรายได้ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้หรือเงินอื่นใด หมายถึง 40% ของ 10,000,000 บาท = 4,000,000 บาท (แต่ไม่เกินยอดเงินรายได้ 7,00,000 บาท ) x + y = < 4 , 000 ,000 บาท เงื่อนไข มีเงินรายรับจริงตามประมาณการรายรับที่ตั้งไว้ < x + y หรือ < x + > y = <4 , 000 ,000 ( ส่วนใหญ่น้อยกว่าประมาณการในแผนอัตรากำลัง )
กรณีเปอร์เซ็นต์ ไม่น้อยกว่าแผนอัตรากำลัง หรือ เกิน 40 % เพราะ - นำเงินไปเพิ่มใน y มากกว่า 20 % ตามที่กำหนดไว้ในแผนอัตรากำลัง 3 ปี < x + > y = < 4 , 000 ,000 - คำนวณเงินของตำแหน่งว่างต่ำ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การคำนวณ เช่น… < x + > y = > 4 , 000 ,000 การคำนวณกรณีตำแหน่งว่าง (สูงกว่าขั้นต่ำ ซี 1 (1 ขั้น ) – ขั้นต่ำ ซี 1 ) + (ขั้นสูง ซี 4 – ต่ำกว่าขั้นสูง ซี 4 ( 1 ขั้น ) x 12 หาร 2 ลข .ซี 1 ( 5,100 – 4,870 ) + ซี 4 (19,100 – 18,480) x 12 / 2 (5,100) ลข .ซี 2 (6,140 – 5,810) + ซี 5 (23,340 – 22,600) x 12 / 2 (6,420) ลข .ซี 3 (7,530 – 7,140) + ซี 6ว (28,880 – 27,960) x 12 / 2 (7,860) ซี 1-3/4 4,870 + 19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) (ขั้นต่ำ ซี 1 + ขั้นสูง ซี 4) X 12 หาร 2 ซี 2-4/5 5,810 + 23,340 x 12 / 2 (174,900 ) ซี 3-5/6ว. 7,140 + 28,880 x 12 / 2 (216,120 ) ซี 7 35,220 + 16,190 x 12 / 2 (308,460) ซี 8 49,830 + 19,860 x 12 / 2 (418,140)
การกำหนดเลขที่ตำแหน่งการกำหนดเลขที่ตำแหน่ง • (นส.ที่ มท 0808.1/ ว 157 ลงวันที่ 7 ก.พ. 2546) • เลขที่ตำแหน่ง ประกอบด้วยเลขรหัส 9 หลัก ได้แก่ 00-0000-000 • รหัสตัวที่ 1-2 หมายถึง รหัสส่วนราชการ สำนัก กอง • รหัสตัวที่ 3-6 หมายถึง รหัสสายงานของตำแหน่งนั้น ตามบัญชีแสดง กลุ่มสายงาน และประเภทตำแหน่งต่าง ๆ • รหัสตัวที่ 3-4หมายถึง รหัสกลุ่มงาน • รหัสตัวที่ 5-6หมายถึง รหัสลำดับที่สายงานในกลุ่มงานนั้น • รหัสตัวที่ 7-9 หมายถึง รหัสระดับที่พนักงานส่วนท้องถิ่นในสายงานนั้น
การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหารใน อบต. ขนาด อบต. ระดับตำแหน่ง ปลัดระดับ 8 : รายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป มีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8
การกำหนดตำแหน่งบริหาร อบต.ตามกรอบ
การกำหนดตำแหน่งตามกรอบโครงสร้างส่วนราชการของ เทศบาล ปลัดระดับ 8 : ต้องมีรายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป จะมีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8
การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาลการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาล ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เทศบาล - กองส่งเสริมวัฒนธรรมฯ - กองเทคโนโลยีสารสนเทศ - กองนิติการ - กองวิเทศสัมพันธ์ - กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ - กองส่งเสริมกิจการขนส่ง - กองทรัพยากรธรรมชาติฯ - กองส่งเสริมกิจการพาณิชย์ - กองเทศกิจ - กองส่งเสริมการเกษตร - กองผังเมือง - กองทะเบียนราษฎรและบัตรฯ (รวม 13 กอง) สำนักปลัดเทศบาล กอง/สำนักการคลัง กอง/สำนักการช่าง เล็ก กลาง 20 ล้าน ใหญ่ 150 ล้าน เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่จำเป็นต้องมี - กอง/สำนักการสาธารณสุขฯ - กอง/สำนักการศึกษา - กอง/สำนักวิชาการและแผนงาน - กอง/สำนักการประปา - กอง/สำนักการแพทย์ - กอง/สำนักการช่างสุขาภิบาล - กอง/สำนักสวัสดิการสังคม - หน่วยตรวจสอบภายในและแขวง
การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต. อบต. ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เล็ก กลาง 6 ล้าน ใหญ่ 20 ล้าน • สำนักงานปลัด อบต. • กองหรือส่วนการคลัง • กองช่างหรือส่วนโยธา -กองสวัสดิการสังคม -กองส่งเสริมการเกษตร -กองการศึกษา ฯ -กองสาธารณสุขฯ -กองนิติการ -กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ -กองเทศกิจ -กองผังเมือง -กองกิจการพาณิชย์ -กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (รวม 10 กอง) เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่กำหนดตามความเหมาะสม - กองหรือส่วนส่งเสริมการเกษตร - กองหรือส่วนการศึกษาฯ - กองหรือส่วนสาธารณสุขฯ
ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ (ขนาดเล็ก) หัวหน้ากองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) งานสังคมสงเคราะห์ - นักสังคมสงเคราะห์ หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา งานธุรการ - จพง.ธุรการ หรือ จนท.ธุรการ อย่างน้อย 1 อัตรา งานพัฒนาชุมชน - นักพัฒนาชุมชน - จนท. พัฒนาชุมชน หรือ จพง.พัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 อัตรา งานสวัสดิการเด็กและเยาวชน -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา
ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ (ขนาดกลาง) ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 7) งานธุรการ - จพง.ธุรการ หรือ จนท.ธุรการ หรือ ในกลุ่มงานปฏิบัติช่วยบริหารจัดการ อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายสังคมสงเคราะห์ (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) - นักสังคมสงเคราะห์ หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายสวัสดิการเด็กและเยาวชน (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายพัฒนาชุมชน (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) - นักพัฒนาชุมชน - จนท. พัฒนาชุมชน หรือ จพง.พัฒนาชุมชน อย่างน้อย 2 อัตรา ควรกำหนดให้มีส่วนราชการภายใน อย่างน้อย 2 ฝ่าย
1-3/4 โครงสร้างส่วนการคลัง