210 likes | 292 Views
การจัดทำระบบเฝ้าระวังยาเสพติดของจังหวัด โดยจังหวัด เพื่อจังหวัด. วัตถุประสงค์.....
E N D
การจัดทำระบบเฝ้าระวังยาเสพติดของจังหวัด โดยจังหวัด เพื่อจังหวัด
วัตถุประสงค์..... เพื่อให้ฝ่ายอำนวยการ ศตส.จังหวัด(Function) รู้สถานการณ์ปัญหายาเสพติด ของจังหวัด และสามารถกำหนดเป้าหมาย การดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ การปฏิบัติงานในพื้นที่ทุกระดับ (Area) ได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น แนวคิดตามหลักปรัชญา..... รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ก็ชนะร้อยครั้ง แต่การชนะการรบที่ดีที่สุด คือ.....การชนะโดยไม่ต้องรบ (การเฝ้าระวังป้องกันที่มีประสิทธิภาพ)
ประเด็น (รู้เขา) รายละเอียดที่ต้องการในแต่ละหัวข้อ ใคร ภูมิลำเนา-เพศ-อายุ-อาชีพ-สัญชาติ อะไร ตัวยาเสพติดที่เกี่ยวข้อง ปริมาณ ราคา อย่างไร จำหน่าย/เพื่อจำหน่าย-ครอบครอง-เสพ-ผลิต ถนน-บ้าน-ที่พักอาศัยเชิงพาณิชย์- ที่รกร้าง ที่สาธารณะ-สวน-สถานบริการ-ร้านค้า ฯลฯ ที่ใหน ช่วงวัน-เวลาที่พบเห็นการกระทำความผิด เมื่อไหร่
รายละเอียดที่ต้องการในแต่ละประเด็นรายละเอียดที่ต้องการในแต่ละประเด็น • ข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานในแต่ละเดือน • รายงานผลการจับกุมคดียาเสพติด จากตำรวจภูธรจังหวัด • รายงานผลการบำบัดรักษา จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • รายงานผลการตรวจพิสูจน์สารเสพติด จากวิทยาการจังหวัด ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา ข้อมูลที่มีอยู่ ในจังหวัด ข้อมูลการข่าว - การร้องเรียนแจ้งเบาะแส การสำรวจค้นหา ข้อมูลทั่วไป - เศรษฐกิจ อาชีพ/รายได้ - สังคม การศึกษา จารีตประเพณี - การเมือง การปกครอง ภูมิศาสตร์
ตัวอย่างรายงาน (แบบ ปส.6-42) จาก ภ.จว. (ใคร-บุคคล) ภูมิลำเนา เพศ อายุ อาชีพ สัญชาติ (ที่ใหน-พื้นที่) สถานที่ หมู่บ้าน/ชุมชน ตำบล อำเภอ (อะไร-ตัวยา) ชนิด ปริมาณ (อย่างไร) พฤติการณ์ (เมื่อไร) ช่วงเวลา/วันที่
ตัวอย่างรายงาน (แบบ บสต.3) จาก สสจ. ภูมิลำเนา เพศ อายุ อาชีพ สัญชาติ รายเก่า/รายใหม่ สถานศึกษา การเข้าบำบัด ชนิดสารเสพติดที่ใช้
การลงข้อมูลในแบบวิเคราะห์สถานการณ์ด้านพื้นที่การลงข้อมูลในแบบวิเคราะห์สถานการณ์ด้านพื้นที่ โดยใช้รายงานผลการจับกุมฯแบบ ปส.6-42 จำนวนผู้ถูกจับกุมในแต่ละเดือน ตามกลุ่มข้อหา ได้แก่ ผลิต จำหน่าย/มีไว้ในความครอบครองเพื่อจำหน่าย ครอบครอง เสพ • จำแนกตามพื้นที่เขตการปกครอง ได้แก่ หมู่บ้าน/ชุมชน ตำบล อำเภอ จังหวัด • จำแนกตามสถานที่ตรวจพบจับกุม ได้แก่ ถนน ที่รกร้าง บ้านอยู่อาศัย ที่พักอาศัย เชิงพาณิชย์ ร้านจำหน่ายอาหาร-สุรา ร้านค้า โต๊ะสนุ๊กเกอร์ สถานบริการ/ บันเทิง ที่สาธารณะ สถานีบริการน้ำมัน-ก๊าซ อู่ซ่อม -ตกแต่งรถ โรงงาน ฯลฯ
จำหน่าย/เพื่อจำหน่าย ตัวอย่างการลงข้อมูล เพื่อใช้วิเคราะห์สถานการณ์พื้นที่ระดับจังหวัด-อำเภอ ครอบครอง เสพ ใช้กำหนดเป็นพื้นที่การค้า หรือพื้นที่แพร่ระบาด เข่น *พื้นที่การค้า หมายถึงพื้นที่ ที่มีการจับกุมผู้ค้ามากกว่าผู้เสพ *พื้นที่แพร่ระบาด หมายถึงพื้นที่ ที่มีการจับกุมผู้เสพมากกว่าผู้ค้า จำนวนประชากรในแต่ละพื้นที่ สัดส่วนผู้ถูกจับกุม/จำนวนประชากร 1,000 คน ใช้เปรียบเทียบพื้นที่ที่มีการจับกุมคดียาเสพติด ใช้เปรียบเทียบพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อปัญหายาเสพติดกับจำนวนประชากรในพื้นที่นั้น ใช้เปรียบเทียบช่วงเวลาที่มีการจับกุมคดียาเสพติดสูงในแต่ละปี
ตัวอย่างการใช้กราฟสถิตินำเสนอผลการวิเคราะห์พื้นที่การค้าหรือแพร่ระบาดตัวอย่างการใช้กราฟสถิตินำเสนอผลการวิเคราะห์พื้นที่การค้าหรือแพร่ระบาด พื้นที่การค้า(ผู้ค้ามากกว่าผู้เสพ) ได้แก่ อำเภอเมือง ป่าซาง บ้านโฮ่ง ทุ่งหัวช้าง พื้นที่แพร่ระบาด (ผู้เสพ มากกว่าผู้ค้า) ได้แก่ อำเภอลี้ แม่ทา เวียงหนองล่อง บ้านธิ
ตัวอย่างการใช้กราฟสถิตินำเสนอผลการวิเคราะห์พื้นที่ที่มีการจับกุมมากตามลำดับตัวอย่างการใช้กราฟสถิตินำเสนอผลการวิเคราะห์พื้นที่ที่มีการจับกุมมากตามลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8
เมือง การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงของพื้นที่ เฉลี่ย 22 คน เมือง บ้านธิ เฉลี่ย 0.437 เมือง 138,147 ป่าซาง 57,737 บ้านโฮ่ง 42,342 ลี้ 67,172 แม่ทา 40,115 ทุ่งฯ 19,206 บ้านธิ 17,509 เวียงฯ 18,317 จังหวัด 400,545
สถานที่จับกุมผู้ต้องหาในพื้นที่จังหวัดลำพูนสถานที่จับกุมผู้ต้องหาในพื้นที่จังหวัดลำพูน ร้อยละของผู้ถูกจับกุมในแต่ละสถานที่ของอำเภอปี 2551 1 20.5 15.0 90.0 40.0 70.6 100 22.2 42.9 13.6 15.0 20.0 5.9 11.1 28.6 2 21.6 55.0 10.0 40.0 23.5 66.7 28.6 3 31.8 3.4 5.0 2.3 1.1 10.0 4.5 1.1 100 100 100 100 100 100 100 100
การลงข้อมูลในแบบวิเคราะห์สถานการณ์ด้านบุคคลการลงข้อมูลในแบบวิเคราะห์สถานการณ์ด้านบุคคล โดยใช้รายงานผลการจับกุมฯแบบ ปส.6-42 จำนวนผู้ถูกจับกุมในแต่ละเดือน ตามกลุ่มข้อหา ได้แก่ จำหน่าย/มีไว้ในความครอบครองเพื่อจำหน่าย ครอบครอง เสพ ผลิต • จำแนกตามภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยในทะเบียนราษฎร์ได้แก่ หมู่บ้าน/ชุมชน ตำบล อำเภอ จังหวัด • จำแนกตามอาชีพได้แก่ รับจ้าง นักเรียน/นักศึกษา ว่างงาน ค้าขาย เกษตรกร เจ้าหน้าที่ของรัฐ ฯลฯ • จำแนกตามช่วงอายุได้แก่ กลุ่มอายุ 12 ปีลงมา, กลุ่มอายุ 13-18 ปี, กลุ่มอายุ 19-25 ปี, กลุ่มอายุ 26-30 ปี อายุ 31 ปีขึ้นไป ฯลฯ
ตัวอย่างการลงข้อมูล ภูมิลำเนาของผู้ถูกจับกุม ใช้เปรียบเทียบพฤติการณ์ของบุคคลที่มีภูมิลำเนาในแต่ละพื้นที่ ใช้เปรียบเทียบจำนวนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด จำนวนประชากร ใช้เปรียบเทียบอัตราความเสี่ยงของบุคคลที่มีภูมิลำเนาในแต่ละพื้นที่
ตัวอย่างการใช้กราฟสถิตินำเสนอผลการวิเคราะห์สถานการณ์ของบุคคลในแต่ละพื้นที่ตัวอย่างการใช้กราฟสถิตินำเสนอผลการวิเคราะห์สถานการณ์ของบุคคลในแต่ละพื้นที่ พฤติการณ์จำหน่าย ได้แก่ จังหวัดอื่น อำเภอเมือง อำเภอป่าซาง อำเภอทุ่งหัวช้าง อำเภอบ้านธิ และ อำเภอบ้านโฮ่ง พฤติการณ์เสพ ได้แก่ อำเภอลี้ อำเภอแม่ทา และ อำเภอเวียงหนองล่อง
ตัวอย่างการลงข้อมูลอายุของผู้ถูกจับกุมจำแนกตามภูมิลำเนาตัวอย่างการลงข้อมูลอายุของผู้ถูกจับกุมจำแนกตามภูมิลำเนา ร้อยละของกลุ่มอายุผู้ถูกจับกุมตามภูมิลำเนา ปี 2551 12.9 16.7 21.7 100 25.0 20.0 17.6 9.1 15.4 12.2 14.3 34.1 38.7 33.3 30.4 35.7 62.5 20.0 35.1 34.1 34.9 22.0 29.0 16.7 34.8 35.7 60.0 27.5 40.9 30.9 31.7 19.4 33.3 13.0 14.3 12.5 19.8 15.9 18.9 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100
ตัวอย่างการลงข้อมูลอาชีพของบุคคลจำแนกตามภูมิลำเนาตัวอย่างการลงข้อมูลอาชีพของบุคคลจำแนกตามภูมิลำเนา ร้อยละของกลุ่มอาชีพผู้ถูกจับกุมตามภูมิลำเนา ปี 2551 92.7 74.2 100 74.0 85.8 100 100 80.0 84.7 90.9 86.3 4.9 12.9 13.0 7.1 7.6 2.3 6.3 3.2 1.5 4.5 2.3 7.1 2.4 6.5 2.3 1.7 3.2 13.0 3.8 2.3 3.4 20.0 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100
การวิเคราะห์สถานการณ์ในแต่ละช่วงเวลาการวิเคราะห์สถานการณ์ในแต่ละช่วงเวลา +74 +73 +57 +57 +13,790.2 +2,353.7 +1,886.0 +742.5
ตัวอย่างการใช้กราฟสถิติแสดงจำนวนผู้เกี่ยวข้องกับชนิดของยาเสพติดในจังหวัดลำพูน ปี2551 เริ่มมีการตรวจพบยาบ้ากลุ่ม G.2 ในบริเวณพื้นที่ด้านทิศตะวันตกของจังหวัดลำพูนคืออำเภอป่าซาง และ บ้านโฮ่ง ซึ่งติดต่อกับอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (กลุ่มยาบ้าเดิม G.1)........รายงานจากวิทยาการจังหวัด
เปรียบเทียบปริมาณยาบ้า/ผู้ต้องหาในพื้นที่/ภูมิลำเนาของผู้ต้องหา(เม็ด/คน) ปีงบประมาณ 2551